ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Quick Index. การใช้หนังสือคู่มือดูนกภาคสนาม A Field Guide to the Birds Of Thailand โดย Robson (2002)
ความหลากหลายของสัตว์
การสืบพันธุ์ของพืช.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
บ้านทุ่งหว้า หมู่ 4 ต.คึกคัก อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
โครงงาน โรงเรียนฝางวิทยายน ผู้จัดทำ 1.นายสุทิน สีละโคตร เลขที่11
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การเจริญเติบโตของมนุษย์
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ประโยชน์ของการนวด 1 เป็นการกระตุ้นประสาทสัมผัสตามธรรมชาติ ช่วยให้สมองและระบบประสาทพัฒนาอย่าง รวดเร็ว 2 ทำให้ทารกหลับได้สนิทและนานขึ้น ทำให้ น้ำหนักเพิ่มเร็ว.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการของพะยูน.
EVOLUTION OF FROGS..
วิวัฒนาการของม้า.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
Story board.
กระชาย กระชายเป็นพืชผักในวงศ์เดียวกับขิง มีเหง้าหรือโคนลาต้นจมอยู่ใต้ดิน มีรากเรียว ยาวอวบน้ำ และออกเป็นกระจุก ส่วนเหง้าและรากที่มัก เรียกกันว่า หัว จะมีกลิ่นจัดเฉพาะตัวเนื่องจากมีน้ำ.
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
กระต่ายเนเธอร์แลนด์ ดวอร์ฟ
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสัตว์
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การสืบพันธุ์ของพืช.
หมากเขียว MacAthur Palm
มันเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ ที่เกิดมาเป็นเสือชีต้า โดย เคิร์ท ทิฟฟานี่
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
Story board.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
Nipah virus.
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
ประเภทของมดน่ารู้.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
งูอันตรายของโลก จัดทำโดย ด.ช.เก่งกาจ บุญมี ชั้นม.1/12 เลขที่17 เสนอ
ด. ญ. ปวันรัตน์ ตันกาศ เลขที่ 20 ม.1/2 ถัดไ ป.  จากหลักฐานรูปปั้นแมว มัมมี่แมว และ ภาพเขียนผนังเกี่ยวกับแมวแล้ว เราเชื่อว่าได้ มีการ  เลี้ยงแมวในอียิปต์
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
สัตว์ ถัดไป.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6 สัตว์ หน้าถัดไป ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6

แมว แมว หรือ แมวบ้าน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อยู่ในตระกูล Felidae ซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับสิงโตและเสือดาว ต้นตระกูลแมวมาจากเสือไซบีเรียน ซึ่งมีช่วงลำตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาวประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก ขนาดลำตัวยาว หน้าหลัง หน้าถัดไป

กระต่าย หน้าหลัง หน้าถัดไป กระต่ายเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็ก มีขนปุกปุยทั่วลำตัว มีหางกลมสั้น มีใบหูยาวเมื่อเทียบกับสัตว์อื่น ซึ่งวิวัฒนาการมาใช้สำหรับฟังเสียงได้เป็นอย่างดี และยังมีประสาทสัมผัสในการดมกลิ่นที่ดีมาก กระต่ายมีขาหน้าที่มี 5 นิ้ว ขาหลังมี 4 นิ้ว มีสะโพกที่ยาวและทรงพลัง เต็มไปด้วยกล้ามเนื้อ จึงสามารถกระโดดได้เป็นอย่างดี ใต้ฝ่าเท้ามีขนนุ่ม ๆ รองรับอยู่ เพื่อมิให้เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว เป็นสัตว์ที่ตื่นตกใจง่ายและมีความว่องไวปราดเปรียวมากในการระแวดระวังภัย นอกจากนี้แล้วตาของกระต่ายยังมีหนังตาหรือเปลือกตาถึง 3 ชั้นด้วยกัน[1] กระต่ายเป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารเท่านั้น ต่างจากสัตว์ฟันแทะที่กินได้ทั้งเนื้อและพืช อาหารของกระต่ายได้แก่ หญ้าและพืชผักชนิดต่าง ๆ อายุขัยโดยเฉลี่ยของกระต่ายจะอยู่ที่ 2-3 ปี นับเป็นสัตว์ที่สืบพันธุ์เร็วมาก โดยปีหนึ่ง ๆ กระต่ายสามารถออกลูกได้ถึง 2-3 ครั้ง ครั้งละประมาณ 2-3 ตัว กระต่ายในธรรมชาติ มักอาศัยอยู่ในที่ราบโล่งที่เป็นทุ่งหญ้ามากกว่าป่าทึบ โดยขุดโพรงใต้ดินเป็นรังและที่อยู่อาศัย ลูกกระต่ายป่าในธรรมชาติ เมื่อแรกเกิดจะลืมตา และในวันรุ่งขึ้นก็สามารถวิ่งและกระโดดได้เลย เมื่อกระต่ายตัวเมียจะคลอดลูก จะแยกออกจากรังเดิมไปขุดรังใหม่ เพื่อป้องกันลูกอ่อนจากกระต่ายตัวผู้ ซึ่งอาจฆ่าลูกกระต่ายเกิดใหม่ได้ โดยจะกัดขนตัวเองเพื่อปูรองรับลูกใหม่ที่จะเกิดขึ้นมา หน้าหลัง หน้าถัดไป

ดอกไม้ หน้าหลัง หน้าถัดไป

ดอกไม้ หน้าหลัง หน้าแรก ดอกไม้ คือโครงสร้างการขยายพันธุ์ของพืชดอก (พืชในส่วน Magnoliophyta หรือเรียกว่า angiosperm) การทำงานเชิงชีววิทยาของดอกไม้มักจะเป็นการขยายพันธุ์ด้วยกลไกแบบสเปิร์มกับไข่ การปฏิสนธิของดอกไม้สามารถเกิดได้ข้ามดอก (การรวมตัวของสเปิร์มและไข่ที่มาจากดอกอื่นหรือต้นอื่นในกลุ่มประชากร) หรือเกิดในตัวเองก็ได้ (การรวมตัวของสเปิร์มและไข่ในดอกเดียวกันนั้น) ดอกไม้บางชนิดผลิตส่วนแพร่พันธุ์ (diaspore) โดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิ (การเกิดผลลม) ดอกไม้จะมีอับสปอร์ (sporangia) เป็นแหล่งสร้างแกมีโทไฟต์ ดอกไม้คือส่วนที่เกิดเป็นผลไม้และเมล็ด ดอกไม้หลายชนิดวิวัฒนาการตัวเองเพื่อดึงดูดสัตว์เช่นแมลงเพื่อให้เป็นตัวช่วยส่งถ่ายละอองเรณู นอกจากการเอื้ออำนวยต่อการขยายพันธุ์ของพืชดอก ดอกไม้ยังเป็นที่นิยมชมชอบและใช้เพื่อตกแต่งสภาพแวดล้อมในสังคมมนุษย์ และดอกไม้ก็เป็นตัวแทนแห่งความรักใคร่ ความเชื่อ ศาสนา สามารถใช้เป็นยารักษาโรคและแหล่งอาหารได้ หน้าหลัง หน้าแรก