บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
Advertisements

องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
อาหารหลัก 5 หมู่.
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
Phylum Nematoda สมมาตรแบบ Bilateral symmetry
Group Acraniata (Protochordata)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
BIOL OGY.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
ระบบประสาท (Nervous System)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
ใบ Leaf or Leaves.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
หนอนพยาธิ (Helminth).
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
= enzyme By . Kanyakon Sroymano The prince Royal’s college.
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ภาวะไตวาย.
เครื่องดูดฝุ่น.
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
ปีกของแมลง (Insect Wings)
ทางเดินอาหาร (The gut)
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
กล้วย.
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
บทปฏิบัติการที่ 3 ปากของแมลง (Insect Mouthparts)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys foregut midgut hindgut

แบบจำลองระบบทางเดินอาหารในแมลง(ตั๊กแตน)

ทางเดินอาหารของแมลงโดยทั่วไปมีลักษณะเป็นท่อแบ่งเป็น 3 ตอนดังนี้ 1. ทางเดินอาหารตอนต้น (fore gut) 2. ทางเดินอาหารตอนกลาง (mid gut) 3. ทางเดินอาหารตอนปลาย (hind gut)

1. ทางเดินอาหารตอนต้น (fore gut) หรือเรียกว่า Stomodaeum มีแหล่งกำเนิดจาก Ectoderm เป็นที่พักอาหารและมีการย่อยบ้างเล็กน้อย ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 1.1 คอหอย (pharynx) และหลอดอาหาร (oesophagus) เป็นท่อรับอาหารจากปาก เนื่องจากสองส่วนนี้คล้ายคลึงกันมากบางครั้งจึงเรียกส่วนนี้รวมกันว่าหลอดอาหาร 1.2 ถุงพักอาหาร (crop) อยู่ต่อจากหลอดอาหาร ส่วนนี้จะขยายใหญ่เพื่อเป็นที่พักของอาหาร 1.3 กึ๋น (proventriculus) หรือ gizzard อยู่ต่อจากที่พักอาหาร ในแมลงที่กินอาหารแข็ง อวัยวะนี้จะพัฒนาดีและภายในมีฟันแหลมคมสำหรับบดอาหารก่อนที่จะปล่อยเข้าทางเดินอาหารตอนกลาง ต่อมน้ำลาย (salivary gland) มีรูเปิดที่ฐานของริมฝีปากล่างเพื่อใช้ย่อยอาหารในปาก ต่อมน้ำลายมีรูปร่างแตกต่างกันในหมู่แมลง โดยทั่วไปมีลักษณะคล้ายพวงองุ่น ในหนอนไหมต่อมน้ำลายพัฒนาเป็นต่อมสร้างเส้นไหม (silk gland) ทางเดินอาหารตอนต้นและตอนกลางมีลิ้นกั้นเรียกสโตโมเดียล วาล์ว (stomodeal valve or cardiac valve)

2. ทางเดินอาหารตอนกลาง (mid gut) หรือ Mesenteron เป็นเมมเบรนชนิด semipermeable ที่ประกอบด้วย โปรตีนและไคตินที่คล้าย คิวติเคิล มีแหล่งกำเนิดจาก Endoderm ทำหน้าที่ย่อยและดูดซึมอาหารไปเลี้ยงร่างกาย ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 2.1 ถุงน้ำย่อย (gastric caecum) เป็นส่วนยื่นของผนังทางเดินอาหารตอนกลาง ทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยและช่วยเพิ่มพื้นที่ในส่วนมิดกัต นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ในการสกัดสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแมลง ซึ่งสารอาหารเหล่านี้ได้แก่ โปรตีน วิตามิน ไขมัน และถูกส่งผ่านผนังมิดกัตเข้าสู่ช่องว่างในลำตัว มีจำนวนและลักษณะต่างกันในแมลงแต่ละชนิดส่วนมากพบมี 2-8 อัน 2.2 ลำไส้ส่วนกลาง เป็นท่อขนาดใหญ่ บริเวณนี้จะมีการย่อยและดูดซึมอาหารมากที่สุด ทางเดินอาหารตอนกลางและตอนปลายมีลิ้นกั้น เรียก ไพลอริด วาล์ว (pyloric valve or proctodeal valve)

3. ทางเดินอาหารตอนปลาย (hind gut) หรือ Proctodaeum มีแหล่งกำเนิดจาก Ectoderm บริเวณนี้มีการดูดน้ำจากกากอาหารเพื่อควบคุมปริมาณน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย และเพื่อกำจัดกากอาหาร ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 3.1 ท่อขับถ่าย (Malpighian tubules) เป็นท่อขนาดเล็กยื่นจากตอนปลายสุดของลำไส้ตอนกลาง จำนวนแตกต่างกันในหมู่แมลง มีหน้าที่ขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย 3.2 ไอเลียม (ileum) อยู่ถัดจากฐานของท่อขับถ่าย 3.3 โคลอน (colon) เป็นท่อตรง สั้นและแคบ มีกล้ามเนื้อหนากว่าอยู่ต่อจากไอเลียม 3.4 เรคตัม (rectum) อยู่ถัดจากโคลอน เป็นกระเปาะมีผนังหนาเพื่อเป็นที่พักของ กากอาหารก่อนปล่อยออกทางทวารหนัก (anus)