บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
ครั้งที่ 8 Function.
BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Data Type part.II.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
Programming With C Data Input & Output.
ตัวแปรชุดของอักขระ String
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การเขียนโปรแกรมแสดงผลข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
บทที่ 10 สตริง.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
C-Programming บทที่ 8 การทำซ้ำ C Programming.
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
L/O/G/O อาร์เรย์ และฟังก์ชั่นจัดการ สตริง. วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการของอาร์เรย์ และประยุกต์ใช้ งานได้ เปรียบเทียบความแตกต่างของอาเรย์แบบต่าง.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
Operator of String Data Type
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง C-Programming บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง C Programming

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 C-Programming 2004 มีอะไรบ้างในบทนี้ C Programming 11.1 การสร้างและการจัดการกับตัวแปรสตริง 11.2 การรับและแสดงค่าสตริงด้วยฟังก์ชั่น puts() และ gets() 11.3 การกำหนดค่าให้กับตัวแปรสตริงด้วยฟังก์ชั่น sprintf() 11.4 ตัวแปรสตริงแบบ char 11.5 อาเรย์ของสตริง จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

วิธีการสร้างตัวแปรสตริง ตัวแปรสตริง (string) อีกนัยหนึ่งก็คือ ตัวแปรอาเรย์ของข้อมูลชนิด char วิธีการสร้างตัวแปรสตริงทำได้โดยการเขียนโค้ดลักษณะนี้ Char ชื่อตัวแปร[n]; Char name[10]; โดย n คือขนาดของอาเรย์ ต้องมีขนาดมากกว่า 1 ตัวอักษร เช่น ตัวแปร name เก็บข้อความ “Dreamhome” จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

วิธีการกำหนดค่าให้กับตัวแปรสตริง กำหนดค่าตอนประกาศตัวแปร Char name[20]=“Dreamhome”; Printf(“%s”,name); Char name[20]; name=“Dreamhome”; จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

วิธีการกำหนดค่าให้กับตัวแปรสตริง #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char name[20]; strcpy(name, “Dreamhome”); printf(“%s”,name); รูปแบบ strcpy(ตัวแปรสตริงม “ข้อความที่ต้องการ”) จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char str1[20] = “C language”; char str2[20]; strcpy(str2, str1); printf(“string 1 = %s\n”,str1); printf(“string 2 = %s\n”,str2); Getch(); } ผล C language จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

การเพิ่มข้อความสตริง #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char str1[40] = “ ”; char str2[20] = “very easy”; strcat(str1, “C Language”); strcat(str1, “is”); strcat(str1, “str2”); printf(“string = %s\n”,str1); Getch(); } Strcat คือ ฟังก์ชั่นสำหรับการเพิ่มข้อความ รูปแบบ Strcat(ตัวแปรที่จะถูกเพิ่ม, “ข้อความที่ต้องการเพิ่ม”) ผลลัพธ์ String = C Language is very easy จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

การหาความยาวของสตริง #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char buff[40]; int num; strcpy(buff, “what happened?”); num=strlen(buff); printf(“Your string contains %d character”,num); Getch(); } strlen เป็นฟังก์ชั่นสำหรับหาความยาวของ string ผลลัพธ์ Your string contains 14 character จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

การหาความยาวของสตริง (เขียนให้สั้นลง) Int main(){ char buff[40]; strcpy(buff, “what happened?”); printf(“Your string contains %d character”,strlen(buff)); ผลลัพธ์ Your string contains 14 character จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

การหาความยาวของสตริง #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char buff[40]; int count; int num; strcpy(buff, “Johnny English”); num=strlen(buff); for (count=0;count<num;count++) printf(“character is %d is %c\n”, count,buff[count]); Getch(); } Count+1 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 การเปรียบเทียบสตริง การเปรียบเทียบสตริงจะใช้เครื่องหมาย ==,>=,< แบบการ เปรียบเทียบตัวเลขไม่ได้ จะต้องใช้ฟังก์ชั่น strcmp() (string Compare) ช่วยในการเปรียบเทียบข้อมูลสตริง รูปแบบ Strcmp(ข้อความ1,ข้อความ2); จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char buff1[20]=“AAA”; char buff2[20]=“AAA”; int result; result=strcmp(buff1,buff2); if(result==0) printf(“Equal”); if(result>0) printf(“buff1 > buff2”); if(result<0) printf(“buff1<buff2”); Getch(); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char name[20]=“”; printf(“Username :”); scanf(“%s”,name); if(strcmp(name, “root”)==0) printf(“Welcome root”); else printf(“Go away!!!”); Getch(); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char name[20]; printf(“Username : ”); scanf(“%s”,name); if(strcmp(name, “root”)!=0) printf(“Go away”); else printf(“Welcome root”); Getch(); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

ฟังก์ชั่น puts() และ gets() ซึ่งสามารถใช้แทนฟังก์ชั่น printf() และ scanf() ได้ จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char name[20]=“”; printf(“what is your name?”) gets(name); puts(name); Getch(); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

กำหนดค่าให้กับตัวแปรสตริงด้วย sprintf() ฟังก์ชั่น sprintf() เป็นเหมือนกับการ เอาฟังกชั่น printf() และฟังก์ชั่น strcpy มารวมกัน จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> Int main(){ char name[20]=“”; char buff1[40]=“”; int age=25; strcpy(name, “Somsak”); sprintf(buff1, “My name is %s I’m %d years old.”,name,age); put(buff1); Getch(); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 ตัวแปรสตริงแบบ char* ตัวแปรแบบสตริงพอยเตอร์ (string pointer) ข้อดี คือ เราสามารถนำไปใช้งานได้ง่ายขึ้น คือ เราสามารถกำหนดค่าให้กับตัวแปรสตริงทีหลังโดยใช้เครื่องหมาย = ได้ ไม่ต้องใช้ฟังก์ชั่น strcpy() เหมือนในตัวอย่างที่ผ่านมา จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

Username = admin, password = 1234 ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> #include<conio.h> Int main(){ char *user; char *password; user = “admin”; password = “1234”; printf(“username = %s, password = %s”,user,password); Getch(); } รูปแบบการตั้งชื่อตัวแปรจะมี * หน้าตัวแปรเสมอ ผลการรัน Username = admin, password = 1234 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 อาเรย์ของสตริง Char *name[20]=“NIRUTH”; Char *lastname=“ABC”; Char *phone=“4222432”; Char *address=“BANGKOK”; Char *data[]={“Niruth”, “ABC”, “4222432”, “BANGKOK”}; เป็นการประหยัดตัวแปรดังภาพ จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> #include<conio.h> Int main(){ char *data[]={“Niruth”, “ABC”, “422432”, “BANGKOK”}; printf(“You are %s %s\n”,data[0],data[1]); printf(“Your telephone number is %s\n”,data[2]); printf(“You stay in %s\n”,data[3]); Getch(); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 The End Question? จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 แบบฝึกหัด 1. เขียนโปรแกรมรับข้อความจากผู้ใช้มา 1 ข้อความ จากนั้นให้แสดงข้อความนั้นแบบย้อนกลับ ดังตัวอย่าง I love C C love I 2. สร้างตัวแปรสตริงมา 3 ตัว ตั้งชื่อตัวแปรว่าอะไรก็ได้ กำหนดให้ตัวแปรสตริงตัวแรกเก็บข้อความว่า “A Cup of Tea” ให้ใช้ฟังก์ชั่นในการจัดการสตริง ก๊อปปี้ข้อความนี้จากตัวแปรสตริงตัวแรกมายังสตริงตัวที่ 2 และตัวที่ 3 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555 แบบฝึกหัด 3.เขียนโปรแกรมรับชื่อและรหัสผ่าน ถ้าชื่อไม่ใช่ admin และรหัสผ่านไม่ใช่ oopser ให้แจ้งข้อความว่า Error แต่ถ้าใช่ ก็ให้แสดงข้อความว่า Welcome Admin 4. เขียนโปรแกรมรับข้อความมา 3 ข้อความ จากนั้นรวมข้อความทั้ง 3 ให้อยู่ในตัวแปรเดียว แล้วแสดงออกทางจอภาพ จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555