การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
Sampling Distribution
การประมาณค่า (Estimation)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
หลักการแปลผล สรุปผล II
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
คุณลักษณะผู้นำของผู้จัดการ
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
Chi-square Test for Mendelian Ratio
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ผู้วิจัย นางประชุมพร รุ่นประพันธ์
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การทดสอบสมมุติฐาน Hypothesis Testing.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
= = = = = = = = = =1 Sum = 30 Sum = 16 N = 10 N-1 = 9.
นายทัศนชัย เหน็บบัว โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร

การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร Testing statistics t-TEST F-Test Chi-square TEST Z-TEST เปรียบเทียบ 2 กลุ่ม ทดสอบค่าเฉลี่ย 1 กลุ่ม กับค่าเฉลี่ยที่กำหนด เปรียบเทียบ > 2 กลุ่ม (ANOVA)

สุ่มตัวอย่างที่นาที่มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์จำนวน 9 แปลง โจทย์วิจัย การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่างจากที่ควรได้ 100 ถังต่อไร่หรือไม่ โดยกำหนดให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่า 25 ถังต่อไร่ สุ่มตัวอย่างที่นาที่มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์จำนวน 9 แปลง 120 130 80 85 45 90 95 70 75 Z-test โจทย์กำหนด ได้จากตัวอย่างที่สุ่ม

การอ่านค่าวิกฤตจากตารางทางสถิติ Z ระดับนัยสำคัญ ( ) ระดับนัยสำคัญ ( )  = 0.05 (หางเดียว) ความเชื่อมั่น = 0.95 ความเชื่อมั่น /2 = 0.025 (สองหาง) ความเชื่อมั่น = 0.975 Z/2 = Z0.025 = 1.96

ค่าวิกฤต (Critical value) Z.025 =1.96 1. ตั้งสมมุติฐาน 4. สรุปผล ค่าวิกฤต (Critical value) Z.025 =1.96 Z จากที่ได้ Z =-1.47 |Z| = 1.47 |Z| < 1.96 ดังนั้น ยอมรับ Ho แสดงว่าเมื่อใช้ปุ๋ยอินทรีย์ผลผลิตข้าวไม่แตกต่างจาก 100 ถังต่อไร่ที่ความเชื่อมั่น 95%

การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 กลุ่ม สมมุติฐานทางสถิติ โจทย์วิจัย การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่างจากการใช้ปุ๋ยเคมีหรือไม่ t-test

สุ่มตัวอย่างที่นาที่มีการใช้ ปุ๋ยอินทรีย์ 9 แปลง, ปุ๋ยเคมี 9 แปลง โจทย์วิจัย การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่างจากการใช้ปุ๋ยเคมีหรือไม่ สุ่มตัวอย่างที่นาที่มีการใช้ ปุ๋ยอินทรีย์ 9 แปลง, ปุ๋ยเคมี 9 แปลง อินทรีย์ เคมี 120 130 80 85 45 90 95 70 75 150 145 90 110 100 135 120 100 180 หา Sp อย่างไร

การหา Pooled Variance จากข้อมูลพบว่า ดังนั้น

สุ่มตัวอย่างที่นาที่มีการใช้ ปุ๋ยอินทรีย์ 9 แปลง, ปุ๋ยเคมี 9 แปลง โจทย์วิจัย การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่างจากการใช้ปุ๋ยเคมีหรือไม่ สุ่มตัวอย่างที่นาที่มีการใช้ ปุ๋ยอินทรีย์ 9 แปลง, ปุ๋ยเคมี 9 แปลง อินทรีย์ เคมี 120 130 80 85 45 90 95 70 75 150 145 90 110 100 135 120 100 180

การอ่านค่าวิกฤตจากตารางทางสถิติ t ระดับนัยสำคัญ ( ) ระดับนัยสำคัญ ( )  = 0.05 (หางเดียว) ความเชื่อมั่น = 0.95 /2 = 0.025 (สองหาง) ความเชื่อมั่น = 0.975 t/2 = t0.025 = 2.262

ค่าวิกฤต (Critical value) t.025 =2.262 1. ตั้งสมมุติฐาน 4. สรุปผล ค่าวิกฤต (Critical value) t.025 =2.262 t จากที่ได้ t = -2.911 |t| = 2.911 |t| > 2.262 ดังนั้น ปฏิเสธ Ho แสดงว่าเมื่อใช้ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ปุ๋ยเคมีมีอิทธิพลต่อผลผลิตข้าวแตกต่างกัน ที่ความเชื่อเชื่อมั่น 95%