โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements


นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
A wonderful of Bioluminescence
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
โครโมโซม.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
วิทยาศาสตร์พันธุกรรม ดีเอ็นเอ และ จีเอ็มโอ (Molecular Biotechnology)
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
(quantitative genetics)
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
วิธีการทางวิทยาการระบาด
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
รักษ์โลก กับวิศวกรรมเคมี ตอนที่ 1
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 สิงหาคม 2554.
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางDNAและมุมมองทางสังคมและจริยธรรม
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
Artificial Intelligence (AI)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
6.ข้อจำกัดในการพัฒนาปศุสัตว์
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
Biotechnology applied in animal breeding
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
DNA marker Selection (transformation, breeding) Identification
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา เรื่อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Principle of improvement biotechnology เทคโนโลยีชีวภาพทางการปรับปรุงพันธุ์สัตว์เบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Kinds of biotechnology Reproductive technologies Artificial Insemination (AI) MOET IVM and IVF Nuclear transplantation (cloning) Cryopreservation Sex determination Gene technologies Genetic engineering Genetic marker (MAS, QTL) Genetic maps DNA finger print Genomic selection

Genetic engineering พันธุวิศวกรรม คือ การปรับเปลี่ยน, ดัดแปลง, เคลื่อนย้าย, ตรวจสอบ สาร พันธุกรรม (DNA) ชื่อเรียกอื่น Transgenic animal, Transgenic organisms และที่รู้จักมากที่สุดคือ “Genetically Modified Organisms” หรือ GMOs ข้อดี: สัตว์ให้ผลผลิตสูงขึ้น อายุการใช้งานมากขึ้น มีความต้านทานโรค มากขึ้น แก้ไขปัญหาโรคทางพันธุกรรม ข้อพึงระวัง: ยีนของสัตว์ทุกตัวเหมือนกันโอกาสสูญพันธุ์สูง ยังไม่มีรายงานการพิสูจน์ผลข้างเคียงจากการตัดต่อยีน เสี่ยงต่อการยอมรับของผู้บริโภค

Genetic engineering

Genetic engineering เปรียบเทียบความคล้ายคลึงของยีนที่มีอยู่ในมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตอื่น สิ่งมีชีวิต % ของยีนที่คล้ายกับยีนในมนุษย์ มนุษย์คนอื่น 99.9 % ลิงชิมแปนซี 98 - 99 % หนู 90 % ปลาม้าลาย 85 % แมลงหวี่ 36 % ยีสต์ทำขนมปัง 23 % แบคทีเรียในลำไส้ 7 %

GENE MARKER คือ เครื่องหมายพันธุกรรมที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของยีนที่สนใจ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ MAS และ QTL MAS พิจารณารูปแบบ genotype ที่สัมพันธ์กับลักษณะที่สนใจคัดเลือก เช่น genotype AA แสดงถึงการให้ผลผลิตไข่สูงในไก่ QTL พิจารณารูปแบบของยีนที่อยู่บนโครโมโซม หากยีนใดมีอิทธิพลต่อลักษณะที่สนใจคัดเลือกจะใช้ยีนนั้นเป็น QTL ยีนสำหรับการคัดเลือก

Gene marker การค้นหายีนที่มีความสัมพันธ์กันกับลักษณะต่างๆ เช่น ไข้เห็บ ยีนที่เกี่ยวข้องกับการให้ผลผลิตน้ำนม (DGAT) ยีนต้านทานโรคต่างๆ เช่น โรคเต้านมอักเสบ (BOLA) ยีนที่เกี่ยวข้องกับทนความเครียดเนื่องจากความร้อน (HSP70) ยังไม่สามารถระบุได้ชัดเจนเนื่องจากมี connecting genes อยู่มาก

QTL linked marker QTL marker ที่ควรนำไปใช้ ในการคัดเลือก = gene marker

GENE MAPPING คือ การระบุตำแหน่งยีนที่ควบคุม ลักษณะต่างๆบนโครโมโซม

DNA fingerprint เป็นเทคโนโลยีในการตรวจสอบถึงประวัติบรรพบุรุษของสัตว์ ทำให้ ทราบถึงต้นกำเนิดของสัตว์ ตรวจสอบความเป็น พ่อ-แม่ของสัตว์, คน (Tsunami event) ตรวจสอบหาคนร้าย (crime)

DNA fingerprint

DNA fingerprint X

Genomic selection Genome คือ พันธุกรรม Selection คือ การคัดเลือก รวมกันเป็น การคัดเลือกสัตว์จากพันธุกรรมโดยตรง โดยจะใช้วิธีการใดๆร่วมกัน วิธีการคัดเลือกในปัจจุบันแบ่งเป็น การประเมินพันธุกรรม การใช้เทคโนโลยีโมเลกุล X