Microsoft Access Lesson 2 1 Microsoft Access (Lesson 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
VBScript.
ส่วนประกอบโปรแกรม MS-WORD 97
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
Introduction to C Programming
Create Table in MS Access
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต รหัสวิชา
Microsoft Access.
Microsoft Access.
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lecture 8 Database Output (Form and Report Design)
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การใช้งาน Microsoft Excel
Microsoft Access เอกสารประกอบการบรรยายวิชา Computer in Business
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การสร้างตาราง (Table)
โปรแกรม Microsoft Access
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
เรื่อง การสร้างรายงาน
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เนื้อหา
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
โปรแกรม Microsoft Access
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
CHAPTER 12 SQL.
Software Packages in Business (Unit 5)
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
CHAPTER 13 MySQL and phpMyAdmin
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
จากรูป ถามถึง Foreign key ของใบจัดสินค้า หากใครเลือกตอบ ในวงกลมสีเขียว ได้คะแนน นอกนั้น หักคะแนน  ส่วนเลขที่ใบ นั้น ถือเป็น.
Microsoft Access 2007 นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
Software Packages in Business (Unit 1)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์พื้นฐาน
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
Software Packages in Business (Unit 3)
Microsoft Word Unit Software Packages in Business (Unit 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร.
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการ ข้อมูลหรือรายการต่าง ๆ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การ เรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูลจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ.
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Microsoft Access Lesson 2 1 Microsoft Access (Lesson 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา

Microsoft Access Lesson 22 Microsoft Access 2002 Microsoft Access 2002 เป็นโปรแกรมที่ ใช้จัดการฐานข้อมูล ซึ่งช่วยให้เรา สามารถจัดการกับข้อมูลปริมาณมาก ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในแง่ Microsoft Access 2002 เป็นโปรแกรมที่ ใช้จัดการฐานข้อมูล ซึ่งช่วยให้เรา สามารถจัดการกับข้อมูลปริมาณมาก ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในแง่ การจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การค้นหาข้อมูล การค้นหาข้อมูล การจัดทำรายงาน การจัดทำรายงาน การสำรองข้อมูล การสำรองข้อมูล

Microsoft Access Lesson 23 Microsoft Access 2002 Microsoft Access 2002 เป็นโปรแกรม ประเภทที่เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System: DBMS) ซึ่งโปรแกรมอื่น ๆ ที่เรารู้จักคือ dBase, FoxPro, Oracle, SQL Server, DB2 เป็นต้น Microsoft Access 2002 เป็นโปรแกรม ประเภทที่เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System: DBMS) ซึ่งโปรแกรมอื่น ๆ ที่เรารู้จักคือ dBase, FoxPro, Oracle, SQL Server, DB2 เป็นต้น

Microsoft Access Lesson 24 เริ่มต้นสร้างฐานข้อมูล คลิกเพื่อ สร้าง ฐานข้อมูล ใหม่ 1 คลิกเพื่อ ยืนยัน การสร้าง ฐานข้อมูล 3 ตั้งชื่อ ฐานข้อมูล 2

Microsoft Access Lesson 25 หน้าจอหลัก สร้าง ตารางใหม่ 2 2 วัตถุที่ เกี่ยวข้องกับ ฐานข้อมูล 1

Microsoft Access Lesson 26 เริ่มสร้างตาราง ชื่อ ตาราง 1 ชื่อ ฟิลด์ 2 ชนิด ข้อมูล 3 คำอธิบาย ความหมา ยของ ฟิลด์ 4 คุณสมบั ติของ ฟิลด์ 5

Microsoft Access Lesson 27 การกำหนดชนิดของฟิลด์ Text – เก็บข้อความ อักษร Text – เก็บข้อความ อักษร Memo – เก็บข้อความขนาดใหญ่ ไม่เกิน 65,535 อักษร เช่น คำอธิบายต่าง ๆ Memo – เก็บข้อความขนาดใหญ่ ไม่เกิน 65,535 อักษร เช่น คำอธิบายต่าง ๆ Number – เก็บตัวเลขแบบต่าง ๆ Number – เก็บตัวเลขแบบต่าง ๆ Integer – ตัวเลขตั้งแต่ -32,768 ถึง 32,767 ไม่มีทศนิยม Integer – ตัวเลขตั้งแต่ -32,768 ถึง 32,767 ไม่มีทศนิยม Long integer – ตัวเลขตั้งแต่ - 2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 ไม่มี ทศนิยม Long integer – ตัวเลขตั้งแต่ - 2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 ไม่มี ทศนิยม Single – ตัวเลขตั้งแต่ E38 ถึง E38 ทศนิยม 7 หลัก Single – ตัวเลขตั้งแต่ E38 ถึง E38 ทศนิยม 7 หลัก Double – ตัวเลขตั้งแต่ E324 ถึง E308 ทศนิยม 5 หลัก Double – ตัวเลขตั้งแต่ E324 ถึง E308 ทศนิยม 5 หลัก

Microsoft Access Lesson 28 การกำหนดชนิดของฟิลด์ Date/Time : ค่าของวันที่และเวลา ตั้งแต่ปี คริสต์ศักราช 100 ถึงปีคริสต์ศักราช 9999 Date/Time : ค่าของวันที่และเวลา ตั้งแต่ปี คริสต์ศักราช 100 ถึงปีคริสต์ศักราช 9999 Currency : ค่าเงินตราและข้อมูลที่เป็นตัวเลขซึ่ง ใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูล ซึ่งมีทศนิยมได้ตั้งแต่ 1 ถึง 4 หลัก มี ความแม่นยำถึง 15 หลักทางด้านซ้ายของจุด ทศนิยม และ 4 หลักทางด้านขวาของจุดทศนิยม Currency : ค่าเงินตราและข้อมูลที่เป็นตัวเลขซึ่ง ใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูล ซึ่งมีทศนิยมได้ตั้งแต่ 1 ถึง 4 หลัก มี ความแม่นยำถึง 15 หลักทางด้านซ้ายของจุด ทศนิยม และ 4 หลักทางด้านขวาของจุดทศนิยม AutoNumber : ตัวเลขที่เรียงลำดับ ( เพิ่มขึ้นที ละ 1) โดยไม่ซ้ำ หรือตัวเลขสุ่มที่กำหนดโดย Microsoft Access เมื่อใดก็ตามที่มีระเบียนเพิ่ม เข้ามายังตาราง เขตข้อมูลที่เป็น AutoNumber AutoNumber : ตัวเลขที่เรียงลำดับ ( เพิ่มขึ้นที ละ 1) โดยไม่ซ้ำ หรือตัวเลขสุ่มที่กำหนดโดย Microsoft Access เมื่อใดก็ตามที่มีระเบียนเพิ่ม เข้ามายังตาราง เขตข้อมูลที่เป็น AutoNumber Yes/No : ค่า Yes และ No และเขตข้อมูลที่มี เฉพาะค่าใดค่าหนึ่งในสองค่านี้เท่านั้น (Yes/No, True/False หรือ On/Off) Yes/No : ค่า Yes และ No และเขตข้อมูลที่มี เฉพาะค่าใดค่าหนึ่งในสองค่านี้เท่านั้น (Yes/No, True/False หรือ On/Off)

Microsoft Access Lesson 29 การกำหนดชนิดของฟิลด์ OLE Object : วัตถุ ( เช่น กระดาษคำนวณของ Microsoft Excel, เอกสาร Microsoft Word, กราฟิก, เสียง หรือข้อมูลไบนารีอื่น ๆ ) ที่ถูก เชื่อมโยงกับ หรือถูกฝังตัวอยู่ในตาราง Microsoft Access OLE Object : วัตถุ ( เช่น กระดาษคำนวณของ Microsoft Excel, เอกสาร Microsoft Word, กราฟิก, เสียง หรือข้อมูลไบนารีอื่น ๆ ) ที่ถูก เชื่อมโยงกับ หรือถูกฝังตัวอยู่ในตาราง Microsoft Accessถูก เชื่อมโยงถูกฝังตัวถูก เชื่อมโยงถูกฝังตัว Hyperlink : ข้อความ หรือการรวมกันของ ข้อความและตัวเลขที่จัดเก็บอยู่ในรูปของข้อความ และถูกใช้เป็นที่อยู่การเชื่อมโยงหลายมิติ โดยที่ อยู่การเชื่อมโยงหลายมิติสามารถมีได้ถึง 3 ส่วน ดังนี้ Hyperlink : ข้อความ หรือการรวมกันของ ข้อความและตัวเลขที่จัดเก็บอยู่ในรูปของข้อความ และถูกใช้เป็นที่อยู่การเชื่อมโยงหลายมิติ โดยที่ อยู่การเชื่อมโยงหลายมิติสามารถมีได้ถึง 3 ส่วน ดังนี้ที่อยู่การเชื่อมโยงหลายมิติ text to display ข้อความที่ปรากฏในเขตข้อมูลหรือ ตัวควบคุม text to display ข้อความที่ปรากฏในเขตข้อมูลหรือ ตัวควบคุม address เส้นทางไปยังแฟ้ม ( เส้นทาง UNC ) หรือ เพจ (URL) address เส้นทางไปยังแฟ้ม ( เส้นทาง UNC ) หรือ เพจ (URL) เส้นทาง UNC URL เส้นทาง UNC URL subaddress ตำแหน่งที่ตั้งภายในแฟ้มหรือเพจ subaddress ตำแหน่งที่ตั้งภายในแฟ้มหรือเพจ screentip ข้อความที่แสดงขึ้นมาเป็นคำแนะนำ เครื่องมือ screentip ข้อความที่แสดงขึ้นมาเป็นคำแนะนำ เครื่องมือ

Microsoft Access Lesson 210 การกำหนดคีย์หลัก (Primary Key: PK) เลือกฟิลด์ที่ ต้องการให้เป็น PK 1 คลิก ที่กุญแจ 2

Microsoft Access Lesson 211 การบันทึกตาราง (Student) คลิก เพื่อบันทึก 1 พิมพ์ ชื่อตาราง 2 คลิก “ ตกลง ” 3

Microsoft Access Lesson 212 การบันทึกข้อมูล ( ตาราง Student) คลิกขวาที่ ตาราง 1 คลิกที่เปิด 2

Microsoft Access Lesson 213 การบันทึกข้อมูล ( ตาราง Student)

Microsoft Access Lesson 214 การแก้ไขตาราง คลิกขวาที่ ตาราง 1 คลิกที่ มุมมองออกแบบ 2

Microsoft Access Lesson 215 การสร้างและบันทึกตาราง (Course) เลือกฟิลด์ที่ ต้องการให้เป็น PK 1 คลิก เพื่อบันทึก 2 พิมพ์ ชื่อตาราง 3 คลิก “ ตกลง ” 4

Microsoft Access Lesson 216 การบันทึกข้อมูล ( ตาราง Course)

Microsoft Access Lesson 217 การสร้างและบันทึกตาราง (Register) เลือกฟิลด์ที่ ต้องการให้เป็น PK 1 คลิก เพื่อบันทึก 2 พิมพ์ ชื่อตาราง 3 คลิก “ ตกลง ” 4

Microsoft Access Lesson 218 การบันทึกข้อมูล ( ตาราง Register)

Microsoft Access Lesson 219 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ตาราง (Relation) คลิก เพื่อสร้าง ความสัมพัน ธ์ ระหว่าง ตาราง 1

Microsoft Access Lesson 220 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ตาราง (Relation) เลือก ชื่อตาราง 1 คลิก เพิ่มตาราง ลงใน ความสัมพัน ธ์ที่เรา ต้องการ 2

Microsoft Access Lesson 221 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ตาราง (Relation) ลาก Student_I d ของ ตาราง Student มา วางไว้ที่ ตาราง Register 1 คลิก Check Box 2 คลิกเพื่อ สร้าง 3 ความสัมพัน ธ์ที่ได้ ระหว่าง ตาราง 4

Microsoft Access Lesson 222 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ตาราง (Relation) คลิก Check Box 2 คลิกเพื่อ สร้าง 3 ลาก Student_I d ของ ตาราง Student มา วางไว้ที่ ตาราง Register 1 4 คลิก เพื่อบันทึก 5

Microsoft Access Lesson 223 การสร้างแบบสอบถาม (Query) คลิก เพื่อสร้าง แบบสอบถา ม 1 คลิก เพื่อบันทึก 2 คลิก เพิ่มตาราง ลงใน แบบสอบถา มที่เรา ต้องการ 4 เลือก ชื่อตาราง 3 ลาก ฟิลด์ที่ ท่าน ต้องการ สร้าง แบบสอบถา มวางลงดัง รูป 5

Microsoft Access Lesson 224 การสร้างแบบสอบถาม (Query) 1 คลิกเพื่อ แสดง Query 2 คลิก เพื่อบันทึก 3 พิมพ์ชื่อ Query 4 คลิก “ ตกลง ” 5 6