งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เนื้อหา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เนื้อหา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เนื้อหา
IT I ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เนื้อหา Midterm Intro to com. Powerpoint Internet Dreameweaver Final Ms-Word Ms-Excel MS-Access สอบ Final ศุกร์ 25 ก.พ. 52 เวลา น. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 Download เอกสารประกอบการสอน
และเอกสารการใช้งานโปรแกรม Microsoft Word / Excel ได้ที่ URL: www2.cs.science.cmu.ac.th/course/204100 หรือ เข้าผ่านเว็บไซต์ของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ แล้วเลือกหัวข้อเว็บเพจของรายวิชาต่างๆ ที่เมนูด้านล่าง

3 Midterm 40 Final 40 คะแนนการบ้าน รวม คะแนนการบ้าน 20 คะแนน แบ่งเป็น Part Midterm 10 Intro. Powerpoint Internet Dreamweaver Part Final Ms-Word Ms-Excel MS-Access Ms-Word Ms-Excel MS-Access ข้อตกลง ไม่มีคะแนนเข้าขั้นเรียนแต่จะมีงานทำในห้องเรียนวันไหนที่เก็บ คะแนนแล้วไม่มาถือว่าไม่มีคะแนนส่วนนั้นจะตามส่งที่หลังไม่รับ

4 โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 1 เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access : ตาราง (Table) บทที่ 2 แบบสอบถาม (Query) บทที่ 3 ฟอร์ม (Form) บทที่ 4 รายงาน (Report) บทที่ 5 การทำงานกับหลาย Table

5 บทที่ 1 เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานกับข้อมูล ทำให้เราเก็บข้อมูล ค้นหาข้อมูล เปลี่ยนแปลงแก้ไข และ จัดทำรายงานได้ ข้อมูลต่างๆ เก็บในตาราง และ ตารางจัดเก็บอยู่ฐานข้อมูล เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

6 ฐานข้อมูล (Database) เป็นที่รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน สัมพันธ์กัน รวบรวมไว้อย่างมีระบบ เช่นข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลต่างๆ ที่เราสนใจเหล่านี้ถูกเก็บไว้ในไฟล์ที่มีส่วนขยายเป็น .MDB ตาราง (Table) ข้อมูลต่างๆ ที่เก็บในฐานข้อมูล จะเก็บอยู่ในรูปแบบของตารางที่เราได้ออกแบบและจัดเก็บแยกตารางไว้ Tableนศ. . Tableอ. Tableวิชา เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

7 ตัวอย่าง Table พนักงาน
ฟิลด์ (Field) รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ E001 พลอย มากแสง 52 ถ.ฉลองกรุง เขคลาดกระบัง กรุงเทพฯ E005 ปัญญา ธันวรารมย์ 8/9 ถ.เ E008 อัญญา ปิติ E010 หทัย ใจดี เรคคอร์ด (Record) เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

8 การใช้ฐานข้อมูลในองค์กร
ฝ่ายการตลาด ระบบจัดการฐานข้อมูล(DBMS) ฐานข้อมูล (Database) ฝ่ายบุคคล ฝ่ายสินค้า แฟ้มข้อมูลพนักงานขาย แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลคลังสินค้า แฟ้มข้อมูลพนักงาน เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

9 เครื่องมือมี 4 ชนิดดังนี้
โปรแกรม Microsoft Access ก่อนที่จะเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Access เราควรทำความรู้จักกับเครื่องมือ (Tools) เพื่อทำงานกับโปรแกรม Microsoft Access เครื่องมือมี 4 ชนิดดังนี้ Table เป็นที่เก็บข้อมูลที่เราสนใจที่เก็บในฐานข้อมูล ลักษณะที่สำคัญของ Table คือ Table ประกอบไปด้วย Row Column ข้อมูลที่จัดเก็บแนว Row 1 รายการคือ record และข้อมูลแนว Column คือ Field Query หรือตารางสืบค้น โปรแกรม Microsoft Access ได้เตรียมระบบการสืบค้นให้เราทำงานกับข้อมูลได้สะดวก Form เพื่อนำเสนอข้อมูลที่เราเก็บใน Table หรือจาก Query Form เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำงานกับข้อมูลได้ง่ายโดยเราอาจใช้ Form เพื่อจัดการต่างๆ กับข้อมูล เช่นเพิ่ม แก้ไข Report คือ รายงาน เพื่อนำเสนอข้อมูลอาจแสดงบนจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

10 ๑. กำหนดปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการศึกษา ๒. ออกแบบ Table
หัวข้อที่เราจะศึกษา ๑. กำหนดปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการศึกษา ๒. ออกแบบ Table (นักศึกษาต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Table มาบ้างแล้ว รู้จัก row column field record) ๓.ชนิดข้อมูล ๔. สร้าง Table ด้วยโปรแกรม Microsoft Access ๕. การป้อนข้อมูล ๖. การจัดการกับ field  การเพิ่มหรือแทรก field  การ ลบ field  การย้าย field ๗. การจัดการกับ Table  การ copy Table  การเปลี่ยนชื่อ Table  การลบ Table เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

11 ๑.กำหนดปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการศึกษา
เราสนใจหรือต้องการทำงานกับข้อมูลเรื่องไหน ศึกษาถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องหรือ สิ่งที่ต้องการทราบ เพื่อรวบรวมข้อมูลแล้วนำไปสร้าง Table เพื่อนำไปใช้งานตามที่เราต้องการ คำถามในใจที่เราควรมี เราสนใจข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องอะไร อะไรที่เราต้องการ อะไรที่เราไม่ต้องการ แยกแยะให้ได้ เราต้องการจัดเก็บข้อมูลหรือไม่ ต้องทราบขอบเขตของข้อมูล จำกัดขอบเขตหรือล้อมวงขีดเส้นสิ่งที่เราสนใจให้ได้ คือเราต้องกำหนดให้ได้ไม่เช่นนั้น จะมีสิ่งที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเยอะมาก เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

12 ตัวอย่าง เราสนใจ ต้องการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ นักศึกษา
ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษามีมากมาย เช่น รหัส ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยู่(ภูมิลำเนา) ที่พัก เบอร์โทรศัพท์ คณะ วิชาเอก วิชาโท GPA ฯลฯ เราสนใจหรือต้องการทราบเรื่องอะไร ขีดเส้นกำหนดขอบเขตสิ่งที่ต้องการทราบให้ได้ก่อน แล้วจึงทำขั้นต่อไป เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

13 เราต้องการเก็บข้อมูล
สมมุติ เราต้องการเก็บข้อมูล รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์บ้าน เบอร์มือถือ มีคำถามว่าหากเราต้องการทราบจำนวนนักศึกษาชาย หญิง เราต้องเพิ่มข้อมูล คำนำหน้านาม เข้าไปด้วย ดังนั้น ข้อมูลนักศึกษา ที่เราต้องการจึงประกอบด้วย รหัสนักศึกษา คำนำหน้านาม ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์บ้าน เบอร์มือถือ เป็นข้อมูลที่เราต้องการ หากเราต้องการทราบเรื่องอื่นๆ ใช้ดุลยพินิจพิจารณา ถามว่าพิจารณาอย่างไร คำตอบก็คือ ใช้ตัวเองถามว่าต้องการทราบเรื่องอะไร อยากรู้อะไรนั่นเอง เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

14 ทราบลักษณะของ Table แล้ว เช่น row column field record มาแล้ว ?
ข้อมูลนักศึกษา ที่เราต้องการ รหัสนักศึกษา คำนำหน้านาม ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์บ้าน เบอร์มือถือ มาออกแบบเพื่อสร้าง Table ขั้นแรก เราต้องกำหนดชื่อ field ก่อน ข้อมูลที่เราต้องการ ชื่อ field รหัสนักศึกษา ID คำนำหน้านาม Title ชื่อ ชื่อ นามสกุล นามสกุล ที่อยู่ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์บ้าน เบอร์บ้าน เบอร์มือถือ เบอร์มือถือ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

15 เราออกแบบ field ต่าง ๆ แล้ว ต่อไปกำหนดชนิดข้อมูลให้แต่ละ field
๓. ชนิดข้อมูล เราออกแบบ field ต่าง ๆ แล้ว ต่อไปกำหนดชนิดข้อมูลให้แต่ละ field เพื่อสะดวกในการใส่ข้อมูล หรือค้นหาข้อมูล การกำหนด field เราต้องทราบ ชนิดข้อมูล ของ Microsoft Access รายละเอียดดังนี้ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

16 ข้อความอักขระต่างๆ ที่มีขนาดใหญ่ 65,535 อักขระ Number
ชนิดข้อมูล คำอธิบาย ขนาด Text อักขระต่าง ๆ ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เช่น A-Z a-z ก-ฮ 0-9 ช่องว่าง สัญลักษณ์พิเศษ เช่น # ฿ $ ตัวเลขนั้นไม่สามารถนำมาคำนวณได้ สูงสุดคือ 255 อักขระ เราสามารถกำหนดขนาดว่าต้องการเก็บกี่ตัวอักษรแต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 255 ตัวอักษร Memo ข้อความอักขระต่างๆ ที่มีขนาดใหญ่ 65,535 อักขระ Number ตัวเลข จำนวนเต็ม ทศนิยม ตัวเลขเหล่านี้นำมาคำนวณได้ ไบต์ Date/Time วันที่ เวลา หรือทั้งวันและเวลา 8 ไบต์ Currency เก็บตัวเลข เช่น สกุลเงิน $ ฿ เปอร์เซ็นต์ จุดทศนิยม จุลภาค AutoNumber ตัวเลขเรียงตามลำดับอัตโนมัติ เพิ่มค่าทีละ 1 4 16 ไบต์ Yes/No ค่า Yes/No หรือ field ที่มีตรรกะ 2 ค่า เช่น Yes/No True/False On/Off 1 บิต OLEObject กราฟ รูปภาพ เสียงหรือ object อื่นๆ สูงสุด 1 GB Hyperlink จุดลิงค์แบบต่าง ๆ สูงสุด 2048 ตัวอักษร Lookup Wizard ข้อมูลเลือกจากตารางอื่นๆ ที่สัมพันธ์ 4 bytes เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

17 เก็บตัวเลขจำนวนเต็ม 0 ถึง 255 ไม่มี 1 ไบต์
ชนิดตัวเลข Number คำอธิบาย จุดทศนิยม ขนาด(ไบต์) Byte เก็บตัวเลขจำนวนเต็ม 0 ถึง 255 ไม่มี 1 ไบต์ Decimal เก็บตัวเลขทศนิยมจาก -10 ^28-1 ถึง 10 ^ 28-1 28 12 ไบต์ Integer เก็บตัวเลขจำนวนเต็ม -32,768 ถึง 32,767 2 ไบต์ Long Integer เก็บตัวเลขจำนวนเต็ม -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 4 ไบต์ Single เก็บตัวเลขทศนิยม for negative values – E38 to – E–45  and positive values E–45 to E38 for 7 Double เก็บตัวเลขทศนิยม for negative values E308 to – E–324  and for positive values E–324 to  E308 15 8ไบต์ Replication ID ใช้กำหนด field ที่เป็น AutoNumber ในฐานข้อมูลที่มี record ซ้ำกัน N/A 16ไบต์ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

18 ให้นักศึกษา สร้าง folder รหัสนักศึกษา Drive (handy drive / diskette)
จากข้อ ๒). ออกแบบ Table ข้อมูลนักศึกษา ต่อไปเราต้องทำการกำหนดชนิดข้อมูลให้แต่ละ field ข้อมูลที่เราต้องการ ชื่อ field ชนิดข้อมูล รหัสนักศึกษา ID Text ขนาด 9 ไบต์ เช่น คำนำหน้านาม Title Text ขนาด 6 ไบต์ มีนาย นางสาว ชื่อ ชื่อ Text ขนาด 20 ไบต์ นามสกุล นามสกุล Text ขนาด 20 ไบต์ ที่อยู่ ที่อยู่ Text ขนาด 40 ไบต์ เบอร์โทรศัพท์บ้าน เบอร์บ้าน Text ขนาด 9 ไบต์ เบอร์มือถือ เบอร์มือถือ Text ขนาด 9 ไบต์ จากนี้เราจะเริ่มทำงานกับโปรแกรม Microsoft Access เพื่อสร้าง Table ให้นักศึกษา สร้าง folder รหัสนักศึกษา Drive (handy drive / diskette) เช่น G:\ > เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

19 ๔. สร้าง Table ด้วยโปรแกรม Microsoft Access
1.click ที่ start เลือกที่ program 2.click ที่ Microsoft Access ดังรูป เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

20 123 4 เมื่อเข้าสู่ Microsoft Access จะปรากฏ หน้าต่างดังรูป
1. Title bar แถบหัวเรื่อง 3. Format tool bar แถบเครื่องมือ 2. Menu bar แถบเมนู 4. Status bar แถบสถานะ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

21 Title bar แถบหัวเรื่อง
แสดงชื่อของโปรแกรม ชื่อฐานข้อมูลที่กำลังใช้งานอยู่มีปุ่มย่อ-ขยาย หน้าต่าง ปิดหน้าต่าง ดังรูป เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

22 เป็นคำสั่งเพื่อทำงานกับโปรแกรม
Menu bar (แถบเมนู) เป็นคำสั่งเพื่อทำงานกับโปรแกรม เมาส์ click ที่คำสั่งจะปรากฏคำสั่งต่างๆให้ทำงาน ดังรูป เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

23 Format tool bar (แถบเครื่องมือ) เป็นเครื่องมือเพื่อช่วยในการทำงาน เช่น
การทำงานพื้นฐาน การจัดรูปแบบ เป็นต้น เมื่อเรา click ที่ปุ่มก็ทำงานได้ทันที เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

24 ปรากฏที่แถบล่างของหน้าต่าง จะแสดงสถานะการทำงานปัจจุบัน
Status bar (แถบสถานะ) ปรากฏที่แถบล่างของหน้าต่าง จะแสดงสถานะการทำงานปัจจุบัน เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

25 ขั้นตอนการสร้าง Table
โปรแกรม Microsoft Access เป็นตัวจัดการฐานข้อมูล (ฐานข้อมูลคือแหล่งที่เก็บข้อมูล มีข้อมูลหลายตารางเก็บอยู่) นามสกุลของฐานข้อมูล คือ .mdb ตอนนี้เราจะทำการสร้าง Table ซึ่ง Table เก็บในฐานข้อมูล ในฐานข้อมูลจะมีหลาย ๆ Table ตอนนี้เราศึกษาฐานข้อมูลเดียว และในฐานข้อมูล มี 1 Table MyStudent.mdb Student เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

26 การสร้าง Table ด้วยโปรแกรม Microsoft Access สามารถสร้างด้วย 3 วิธี
- Datasheet View ผู้ใช้ทำการป้อนข้อมูลที่ต้องการทีละ record ซึ่ง Microsoft Access จะสร้างโครงสร้างของ Table ให้อัตโนมัติ - Table Wizard สร้าง Table จากต้นแบบที่ Microsoft Access เตรียมไว้ ผู้ใช้เลือกและทำตาม dialog ไปเรื่อยๆ - Design View สร้าง Table ซึ่งเราจะกำหนดหรือออกแบบรายละเอียดทั้งหมด เราจะเรียนการสร้างวิธีนี้ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

27 เข้าโปรแกรม Microsoft Access จะได้หน้าจอดังรูป
1 การสร้าง Table ด้วยวิธี Design View ให้ทำตามขั้นตอนดังนี้ 1. click ที่ Blank Database จะปรากฏหน้าจอ ดังรูป เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

28 2.1 ที่ File name: ใส่ชื่อ ฐานข้อมูล ตัวอย่างนี้ กำหนดให้ชื่อฐานข้อมูล
2. ทำดังนี้ 2.1 ที่ File name: ใส่ชื่อ ฐานข้อมูล ตัวอย่างนี้ กำหนดให้ชื่อฐานข้อมูล MyStudent 2.2 ฐานข้อมูลนี้เก็บที่ drive ไหน folder ไหน click เลือก ตัวอย่างนี้ เก็บที่ Drive c Folder TestAccess 2.3 click ปุ่ม Create 2.2 2.3 2.1 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

29 จากนั้นจะปรากฏหน้าจอการสร้าง Table ใหม่ ดังรูป
3. เราจะสร้างTable ใหม่ click ที่ Table และ Click New 3.2 3.1 จะปรากฏหน้าจอต่อไป เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

30 4. ให้เลือกการทำงานดังนี้ 4.1 click ที่ Design View 4.2 click OK
จะปรากฏหน้าจอต่อไป เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

31 5. จากรูป หน้าจอ Design View ประกอบด้วย Field Name ชื่อ field
Data Type ชนิดข้อมูล Description คำอธิบาย field เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

32 เราจะนำข้อมูล Student ที่เราได้ออกแบบไว้มาใส่ที่นี่
5.1 พิมพ์ ID ที่ช่อง Field Name 5.2 พิมพ์ Text ที่ช่อง Data Type 5.3 ที่ Tab General Field Size พิมพ์ 7 5.4 ที่ช่อง description พิมพ์ รหัสนักศึกษา ดังรูป ถ้าไม่ระบุขนาด โดย default Text 50 5.2 5.4 5.1 5.3 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

33 ID Text ขนาด 9 Title Text ขนาด 6 ชื่อ Text ขนาด 20
เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

34 เราจะทำการกำหนด Primary key (คีย์หลัก) next page
เมื่อสร้าง Table แล้ว เราจะทำการกำหนด Primary key (คีย์หลัก) next page พิจารณา record/ข้อมูลในแต่ละrow :Table Student ID Title ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์บ้าน เบอร์มือถือ ? อะไรที่ไม่ซ้ำ ?? เหตุผล กำหนด Primary key (คีย์หลัก) ให้กับ field รหัสนักศึกษา เพื่อความสะดวกในการทำงาน เช่น ช่วยค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ทำให้เราไม่ใส่รหัสนักศึกษาซ้ำ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

35 row แถว record Primary key : คีย์หลัก
เป็น field ที่ใช้แยกความแตกต่างของข้อมูล ในแถว (row) field ที่เป็น คีย์ ค่าในแถวนั้นๆ ข้อมูลจะไม่ซ้ำ ฟิลด์ที่สามารถระบุถึงแต่ละ record ในตารางได้โดยไม่มีค่าซ้ำกันเราจะเรียกฟิลด์นั้นว่า คีย์หลัก row แถว record ข้อมูลที่เราจัดเก็บ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

36 6. ขั้นตอนการกำหนด key field ทำดังนี้ 6.1 click ที่ Field Name ID
6.2 6.1 จะปรากฏรูปกุญแจที่ Field Name ID เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

37 7. การบันทึก Table ที่เราสร้าง ทำดังนี้ 7.1 click ที่ ปุ่ม save
7.2 จะปรากฏเมนู ให้พิมพ์ชื่อ Table เราตั้งชื่อ Table ว่า Student 7.3 click OK 7.1 7.3 7.2 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

38 จากนั้นให้สังเกตที่ Title bar (แถบหัวเรื่อง) จะปรากฏชื่อ Table คือ Student
เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

39 ๕. การป้อนข้อมูล ตอนนี้เรามีโครงสร้างของ Table ที่ชื่อ Student มีแต่โครงสร้าง ยังไม่มีข้อมูล เราจะนำการป้อนข้อมูลเข้าสู่ Table Student ขั้นตอนดังนี้ 1. Click ที่ปุ่ม Database Windows บน format toolbar หรือ click ที่ หน้าต่าง MyStudent:Database (Access 2000 file format) 1 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

40 2. จากนั้นให้ทำงานดังนี้ 2.1 ที่ Objects click Tables
2.2 double click ชื่อ Table Student 2.1 2.2 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

41 3. จะปรากฏหน้าจอให้เราพิมพ์ ข้อมูลเข้า Table
เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

42 4.1 พิมพ์ข้อมูลเข้าสู่ Table จนครบตามต้องการ
4. จากนั้นทำงานดังนี้ 4.1 พิมพ์ข้อมูลเข้าสู่ Table จนครบตามต้องการ 4.2 click ปุ่ม Save เพื่อบันทึกข้อมูล 4.2 4.1 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

43 ๖. การจัดการ field – แทรก field - ลบ field - ย้าย field
เราต้องทำตามขั้นตอน 1-3 ก่อนเพื่อระบุ Table ที่ต้องการทำงานด้วย 1. ที่ Objects click Tables 2. จากนั้น click ชื่อ Table Student 3. แล้ว click ที่ปุ่ม Design 3 1 2 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

44 จะปรากฏหน้าจอดังนี้ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

45 การแทรก field จากตัวอย่าง Table Student เราจะเพิ่ม field ชื่อ DateOfBirth มี type เป็น Date/Time คือ วันเดือนปีเกิดของนักศึกษา มีขั้นตอนดังนี้ 1. click ให้เป็นแถบสีเทาหน้า field ที่เราต้องการแทรก field นั้นเป็นสีดำทั้งแถว โดย field ใหม่ (DateOfBirth) จะแทรกเข้ามาและ field เบอร์บ้าน จะขยับลง 1 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

46 2.1 click ที่ ปุ่ม Insert Row บน format toolbar หรือ
2. ทำงานดังนี้ 2.1 click ที่ ปุ่ม Insert Row บน format toolbar หรือ 2.2 ที่ Menu bar (แถบเมนู) click ที่คำสั่ง Insert click Rows 2.2 2.1 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

47 4. จากนั้น click ที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึก Table
3. click ที่ Field Name พิมพ์ชื่อ field DateOfBirth ที่ Data Type click เลือก Date/Time ที่ Description พิมพ์คำอธิบายชื่อ Field วันเดือนปีเกิด ของนักศึกษา 3 4. จากนั้น click ที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึก Table เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

48 จากตัวอย่าง Table Student
การลบ field จากตัวอย่าง Table Student เราจะลบ field ชื่อ DateOfBirth มี Type เป็น Date/Time คือ วันเดือนปีเกิดของนักศึกษา มีขั้นตอนดังนี้ 1. click ให้เป็นแถบสีเทาหน้า field ที่เราต้องการลบ เป็นสีดำทั้งแถบ 2 1 2. ลบ filed ให้ click ที่ปุ่ม Delete Rows บน format toolbar เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

49 จะปรากฏเมนู ถามว่าเราต้องการลบ field นี้ หรือไม่ ให้ click Yes
จากนั้น click ที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึก Table เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

50 การย้าย field จากตัวอย่าง ทำงานอยู่ที่ Table Student
เราจะย้าย Field Name ที่อยู่ ซึ่งมี Type เป็น Text ไปไว้บรรทัดไว้ล่างสุด หลัง Field Name เบอร์มือถือ ขั้นตอนการทำงาน ดังนี้ 1. ที่ Table Student 2. click ให้เป็นแถบสีเทาหน้า field ที่เราต้องการย้าย คือ field ที่อยู่ เป็นสีดำทั้งแถว 1 2 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

51 4. click ที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ Table Student 4
3.Drag mouse (click เมาส์ค้าง) ไปยังตำแหน่งที่ต้องการย้ายไป จากตัวอย่างเราจะย้าย Field Name ที่อยู่ ไปไว้ลำดับสุดท้าย หลัง Field Name เบอร์มือถือ 4. click ที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ Table Student 4 3 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

52 ๗. การจัดการกับ table – copy rename delete Table
การ copy (สำเนา) Table เราจะ copy Table Student และตั้งชื่อ Table ที่สำเนาใหม่ว่า Table StudentNew มีขั้นตอนการทำงานดังนี้ 1. click ที่ Tables 2. click เลือกชื่อ Table Student เราจะ copy Table นี้ 1 2 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

53 3. ที่ Format toolbar (แถบเครื่องมือ) click ที่ปุ่ม copy
4. ที่ Format toolbar (แถบเครื่องมือ) click ที่ปุ่ม paste 5. จะปรากฏ หน้าต่าง ให้เราตั้งชื่อ Table เราจะตั้งชื่อ Table ใหม่ว่า StudentNew เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

54 5.1 พิมพ์ชื่อ StudentNew ตัวอย่างนี้เราตั้ง Table ชื่อ StudentNew
5.2 Paste Options เป็น ทางเลือกในการ copy Table ความหมายดังนี้ Structure Only เป็นการสร้าง Table ใหม่โดย copy เฉพาะโครงสร้าง Structure and Data เป็นการสร้าง Table ใหม่ ซึ่งcopy ทั้งโครงสร้างและข้อมูล Append Data to Existing Table เป็นการนำข้อมูลไปต่อท้าย Table อื่นที่สร้างไว้แล้ว ในที่นี้เราเลือก Structure and Data คือเราสำเนาทั้งโครงสร้างและข้อมูล 5.3 click ปุ่ม OK 5.1 5.3 5.2 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

55 6. จะปรากฏ Table ใหม่ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

56 การเปลี่ยนชื่อ Table เราจะเปลี่ยนชื่อ Table StudentNew ให้มีชื่อใหม่ว่า StudentChange มีขั้นตอนการทำงานดังนี้ 1. click ที่ Tables 2. click เลือกชื่อ Table StudentNew เราจะ เปลี่ยนชื่อ Table นี้ 1 2 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

57 3. ที่ menu bar 3.1 click ที่คำสั่ง Edit 3.2 เลือก Rename
เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

58 4. จะปรากฏแถบให้เราพิมพ์ชื่อ Table
4.1 เปลี่ยนชื่อ Table ตามที่เราต้องการ ตย.เราพิมพ์ชื่อ Table StudentChange 4.2 แล้วกด Enter 4.2 4.1 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

59 การลบ Table เราจะลบ Table StudentChange ออกจากฐานข้อมูล MyStudent มีขั้นตอนการทำงานดังนี้ 1. click ที่ Tables 2. click เลือกชื่อ Table StudentNew เราจะ เปลี่ยนชื่อ Table นี้ 1 2 เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

60 3. ที่ Menu bar 3.1 click ที่คำสั่ง Edit 3.2 เลือก Delete
เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

61 4. จะปรากฏหน้าต่าง ให้ยืนยันการลบ Table นี้ click ปุ่ม OK ดังนั้น Table StudentChange จะถูกลบจากฐานข้อมูล MyStudent เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.

62 เราสามารถออกแบบและสร้าง Table เราทำงานกับ Table
สรุปบทนี้ เราสามารถออกแบบและสร้าง Table เราทำงานกับ Table และใส่ข้อมูลรายละเอียดเพื่อจัดเก็บข้อมูลลงใน Table ได้ เรียบเรียงโดย ผศ.วาสนา นัยโพธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มช.


ดาวน์โหลด ppt ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เนื้อหา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google