1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
Advertisements

แผนภาพเวนน์–ออยเลอร์ (Vernn–Euler Diagram)
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
หลักการพัฒนา หลักสูตร
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
CHAPTER 11 Two-port Networks
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
1 สวัสดีค่ะ Welcome.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
การตั้งค่าระบบปฏิบัติการ Android
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
4 The z-transform การแปลงแซด
Application of PID Controller
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิด ด้วยตัวชดเชย PIDA (3-22) (3-28) (3-19)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM

2 รูปที่ 4.6 โครงสร้างของระบบที่มีตัวชดเชยที่ปรับให้เหมาะกับการอนุวัตตัวชดเชย

3 รูปที่ 4.7 ผลตอบสนองของระบบที่ใช้ ตัวชดเชยตามวิธี CDM รูปที่ 4.8 ผลตอบสนองทางความถี่ของ ระบบวงปิดที่มีตัวชดเชยแล้ว

4 รูปที่ 4.9 ผลตอบสนองทางความถี่ของพังก์ชันถ่ายโอนวงเปิด

5 ตัวชดเชยที่ได้จากการออกแบบด้วยวิธี CDM สามารถกำจัดรีโซแนนซ์การบิดให้กับ ระบบได้ ดังแสดงในรูปที่ 4.7 และ 4.8 แต่ เมื่อพิจารณาถึงเสถียรภาพสัมพัทธ์ของ ระบบดังแสดงในรูปที่ 4.9 จะเห็นได้ว่า วงกลมเส้นสีแดงมีแนวโน้มที่จะทำให้ระบบ ขาดเสถียรภาพได้ ดังนั้นจึงต้องแก้ปัญหา ดังกล่าวโดยเพิ่มชุดตัวชดเชย G add เข้าไป

6 รูปที่ 4.10 แผนภาพแสดงระบบหลังการชดเชยที่เพิ่มชุด G add (4-27) (4-28) (4-29)

7 รูปที่ 4.11 ผลตอบสนองทางความถี่ ของฟังก์ชันถ่ายโอนวงเปิดที่เพิ่มชุด G add รูปที่ 4.12 ผลตอบสนองทางความถี่ของ ฟังก์ชันถ่ายโอนวงปิดที่เพิ่มชุด G add

8 จากรูปที่ 4.11 จะพบว่าชุด G add ที่เพิ่ม ไปที่ตัวชดเชย จะทำให้ระบบมีเสถียรภาพ สัมพัทธ์ที่ดี และยังคงสามารถกำจัดรี โซแนนซ์การบิดให้กับระบบได้เมื่อพิจารณา ทั้งโดเมนเวลาและโดเมนความถี่

9 รูปแสดงระบบตามโครงสร้าง CDM เมื่อมีการรบกวนระบบ

10 เมื่อดำเนินการจำลองสถานการณ์ระบบ เมื่อมีสัญญาณรบกวนดังรูปข้างต้น จะ พิจารณาเป็นการรบกวนทางด้านโหลดที่ ป้อนเป็นแบบขั้นบันได ณ เวลา 2 วินาที ซึ่ง จากโครงสร้างของระบบจะมีการเพิ่มบล็อก ความไม่เป็นเชิงเส้นแบบอิ่มตัว ที่มีความชัน เท่ากับ 2 และอิ่มตัวที่แรงดัน 8 โวลต์ โดย บล็อกดังกล่าวเพิ่มเข้ามา เพื่อป้องกันไม่ให้ สัญญาณที่ป้อนเข้าสู่ระบบมีค่ามากเกินไป จน อาจส่งผลให้ระบบทางกลเกิดความเสียหาย

11 รูปที่ 4.13 ผลตอบสนองทางเวลาของเอาต์พุตเมื่อมีการรบกวนระบบ

12 จากรูปที่ 4.13 เมื่อพิจารณาตลอดย่าน การทำงานอินพุต จะสังเกตเห็นได้ว่าตัว ชดเชยวิธี CDM มีความสามารถในการฟื้น คืนจากการรบกวนได้โดยที่ไม่ปรากฏค่า ผิดพลาดสถานะอยู่ตัว

13 การอนุวัตตัวชดเชย ตัวชดเชยที่ได้วิธี CDM เมื่อนำมาอนุวัต เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และดำเนินการ ทดสอบให้ผลเป็นดังรูปที่ 4.20 ซึ่งจะมี สัญญาณรบกวนจำนวนมากปรากฏที่ผลการ ทดสอบตัวชดเชย ทำให้ตัวชดเชยที่อนุวัตขึ้น ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้กำจัดรีโซแนนซ์การบิด ให้กับระบบคู่ควบเชิงกล

14 รูปที่ 4.20 ผลการทดสอบตัวชดเชย