1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ENGINEERING MATHAMETICS 1
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
8.4 Stoke’s Theorem.
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
สาระที่ 4 พีชคณิต.
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
Quantitative Analysis for Logistics Management
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชัน นางสาวอรชุมา บุญไกร โรงเรียนสิชลคุณาธาร วิทยา.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4 The z-transform การแปลงแซด
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิด ด้วยตัวชดเชย PIDA (3-22) (3-28) (3-19)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)

2 จากสมการที่ (5-10) สังเกตเห็นว่ามี โพลจำนวน 1 ตัวที่อยู่ห่างจากซีโรไกลมาก ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหาในการอนุวัตตัว ชดเชย ดังนั้นจึงทำการย้ายตำแหน่งโพ ลจากเดิมที่  10 4 ไปยังตำแหน่งที่ พร้อมทั้งทำการปรับค่า dc gain ให้มี ค่าเท่ากับ dc gain ของสมการที่ (5-10) จะ ได้ตัวชดเชยใหม่แสดงได้ดังสมการที่ (5- 11)

3 รูปที่ 5.2 ผลตอบสนองของระบบที่ ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.3 ผลตอบสนองทางความถี่ของระบบ วงปิดที่มีวงจรกรองแบบช่องบาก

4 รูปที่ 5.4 ผลตอบสนองทางความถี่ของระบบวงเปิดที่มีวงจรกรองแบบช่องบาก

5 รูปที่ 5.5 โครงสร้างของระบบที่มีลักษณะเฉพาะความไม่เป็นเชิงเส้น

6 รูปที่ 5.6 ผลตอบสนองทางเวลาของระบบที่มีตัวชดเชยที่อินพุตค่าต่างๆ

7 ผลทดสอบวงจรกรองแบบช่อง บาก รูปที่ 5.10 ผลตอบสนองทางเวลาของ วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.11 ผลตอบสนองทางความถี่ของ วงจรกรองแบบช่องบาก experiment simulation

8 รูปที่ 5.15 ผลการทดสอบของระบบคู่ควบเชิงกลที่ยังไม่มีการชดเชย ผลการทดสอบ

9 551 rpm (input = 2.7 V) 694 rpm (input = 3.0 V) 991 rpm (input = 3.7 V) 1539 rpm (input = 4.6 V) 2230 rpm (input = 5.7 V) 2917 rpm (input = 6.8 V) 3549 rpm (input = 7.8 V) 3642 rpm (input = 8.0 V) experim ent simulatio n รูปที่ 5.17 ผลทดสอบระบบที่มีวงจรกรองแบบช่องบากเทียบ กับผลการจำลองสถานการณ์ 551 rpm (input = 2.7 V) 694 rpm (input = 3.0 V) 991 rpm (input = 3.7 V) 1539 rpm (input = 4.6 V) 2230 rpm (input = 5.7 V) 2917 rpm (input = 6.8 V) 3549 rpm (input = 7.8 V) 3642 rpm (input = 8.0 V) experiment simulation

10 จากรูปที่ 5.17 จะพบว่าผลจากการ ทดสอบจะให้ผลตอบสนองที่รวดเร็วเป็นที่ น่าพึงพอใจและกำจัดรีโซแนนซ์การบิด ให้กับระบบคู่ควบเชิงกลได้ เมื่อ เปรียบเทียบกับผลจากการจำลอง สถานการณ์ จะให้ผลตอบสนองที่ใกล้เคียง กัน

11 เมื่อดำเนินการจำลองสถานการณ์เพื่อ ศึกษาถึงความสามารถในการฟื้นฟื้นสภาพ จากการถูกรบกวนจากภายนอก ตลอดจน ศึกษาถึงความคงทนในสมรรถนะของระบบ เมื่อแบบจำลอง พลานต์มีความไม่แน่นอน ปรากฏในระดับหนึ่ง จากรูปที่ 5.19 ระบบมีความสามารถใน การฟื้นคืนจากการรบกวนได้ในระดับหนึ่ง จากรูปที่ 5.20 แสดงให้เห็นว่า ผลตอบสนองทางเวลามีการผันแปรไปไม่ มากนัก นั่นหมายความว่าระบบที่มีการ แก้ปัญหารีโซแนนซ์การบิดแล้วมีความ คงทนทางสมรรถนะที่ดีมาก

12 input = 2.7 V input = 3.0 V input = 3.7 V input = 4.6 V input = 5.7 V input = 6.8 V input = 7.8 V input = 8.0 V รูปที่ 5.19 ผลตอบสนองทางเวลาเมื่อมีสัญญาณรบกวนระบบ

13 G(s) G + (s) G - (s) รูปที่ 5.20 ผลตอบสนองทางเวลา เมื่อเปลี่ยนแปลง ค่าพารามิเตอร์ของ แบบจำลองของระบบ

14 รูปที่ 5.22 การวิเคราะห์เสถียรภาพด้วยวิธีฟังก์ชันพรรณนา เสถียรภาพของระบบที่มีวงจรกรอง แบบช่องบาก

15 การวิเคราะห์เสถียรภาพจะวินิจฉัยตาม เกณฑ์เสถียรภาพโคเชนเบอเกอร์ เมื่อวาด กราฟของฟังก์ชันถ่ายโอนวงเปิด และ พิจารณาในทิศทางค่า เพิ่มขึ้น ดังแสดง ในรูปที่ 5.22 สังเกตได้ว่ากราฟทางเดิน ของ -1/N(a) ปรากฏทางซ้ายมือ ซึ่งสรุป ได้ว่า ระบบป้อนกลับมีเสถียรภาพตาม เกณฑ์ของโคเชนเบอเกอร์ ซึ่งก็คือระบบที่มี การแก้ปัญหารีโซแนนซ์การบิดแล้วมี เสถียรภาพที่ดี