พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้าน โดย สำนักงานเกษตรอำเภอสุขสำราญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
โครงงาน เรื่อง น้ำหมักมะเฟือง สูตร 1 : 3 : 5.
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
รายงาน Zoo Map Resame.
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
หมากเขียว MacAthur Palm
กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
ดอกไม้ฤดูหนาว.
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้าน โดย สำนักงานเกษตรอำเภอสุขสำราญ พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้าน โดย สำนักงานเกษตรอำเภอสุขสำราญ 1

ผักหวานบ้าน

ชื่อถิ่น ผักหวานบ้าน , ผักหวาน (ทั่วไป) , ก้านตง , ชื่อถิ่น ผักหวานบ้าน , ผักหวาน (ทั่วไป) , ก้านตง , จ๊าผักหวาน (ภาคเหนือ) , โถหลุ่ยกะนีเด๊าะ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) นานาเซี่ยม (มาเลเซีย, สตูล) , ผักหวานใต้ใบ (สตูล) , มะยมป่า (ประจวบคีรีขันธ์) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sauropus androgynus Merr. วงศ์ : Euphorbiaceae

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มสูง 1-2 เมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานแกนรูปไข่ (ovate-oblong) กว้าง 2.3 – 3.0 เซนติเมตร ยาว 6.3-7.9 เซนติเมตร ก้านใบยาว 0.2-3.0 เซนติเมตร หน้าใบสีเขียวเข้ม หลังใบสีเขียวอ่อนออกนวล ขอบใบเรียบ (entire) ออกดอกเป็นกระจุกตามซอกใบ ดอกเพศเมียกลีบเลี้ยงสีแดงอมส้ม หรือแดงแกมเหลือง ช่อดอกยาว 1.2-1.6 เซนติเมตร ผลกลมแป้น ฉ่ำน้ำคล้ายผลมะยม แต่ผิวเป็นพูตื้นกว่า สีเขียวตองอ่อนถึงขาว ขนาดผลมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 12.5-14.5 มิลลิเมตร ดอกและผลอยู่ใต้ใบ เมล็ดสีดำ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ออกดอกช่วงเดือนเมษายนถึงเดือน มิถุนายน        

การใช้ประโยชน์ อาหารสัตว์ ใบใช้ปรุงอาหาร สมุนไพรใบและต้นรสหวานเย็นใช้น้ำยางหยอดตาแก้อักเสบ รักษาแผลในจมูก รากรสเย็นแก้ไข้ถอนพิษไข้รักษาคางทูม ใบปรุงเป็นยาเขียวแก้ไข้ ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงมูเซอใช้ใบทั้งต้นต้มน้ำอาบ เคี้ยวกินแก้ปวดเมื่อยร่างกาย เป็นยาบำรุงสุขภาพสำหรับสตรีหลังคลอด สารสกัดใบและลำต้นด้วยแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ยับยั้งเอ็นไซม์ HIV - 1 reverse transcriptase เล็กน้อย ใบมีสาร papaverine กินมากจะทำให้เกิดอาการเวียนศรีษะ และท้องผูก

พันธุ์ผักหวานบ้าน พันธุ์เขาชะเมา พันธุ์สายน้ำผึ้ง พันธุ์ผักหวานบ้าน พันธุ์เขาชะเมา พันธุ์สายน้ำผึ้ง

การขยายพันธุ์ * โดยการปักชำ * โดยการเพาะเมล็ด

การปลูก ปลูกโดยใช้กิ่งปักชำหรือเพาะกล้าด้วยเมล็ดและย้ายปลูกเมื่อต้นกล้าอายุได้ 45-60 วัน โดยใช้ระยะปลูก 1x2 เมตร และนำปุ๋ยคอกที่แห้งดีแล้วผสมตอนเตรียมดินประมาณ 1 – 2 กิโลกรัม/หลุม และใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 10-20 กรัม/หลุม รองก้นหลุมก่อนปลูก และเมื่อผักหวานบ้านอายุได้ 90 วัน ควรจะใช้ปุ๋ยเสริมสูตร 21 - 0 - 0 อัตรา 10 - 20 กรัม/หลุม จำนวน 3 ครั้ง/ปี

การดูแลรักษา * ใส่ปุ๋ยคอก 2 – 3 เดือน/ครั้ง * ให้น้ำ 2 – 3 วัน/ครั้ง ในฤดูแล้ง * ใส่ปุ๋ยคอก 2 – 3 เดือน/ครั้ง * ปุ๋ยเคมีสูตรเสมอ 15-15-15 อัตรา 1/2 ช้อนแกง/ต้น

การเก็บผลผลิต สามารถเก็บผลผลิตได้หลัง จากย้ายปลูก 60วัน เมื่อเก็บยอดไปแล้วประมาณ15วัน จะแตกยอดใหม่ให้เก็บได้ตลอดทั้งปี

การเก็บผลผลิต (ต่อ) การเก็บผลผลิตผักหวานบ้านควรเก็บยอดผักหวานในช่วงเช้ามืดถึงประมาณ 10 โมงเช้า จะได้ยอดผักหวานบ้านที่สดและกรอบ วิธีเก็บเลือกเก็บเฉพาะส่วนยอด ประมาณใบที่ 3 นับจากตายอดลงมาหรือยาวประมาณ 3-4 นิ้ว หลังเก็บจากแปลงผักจะเหี่ยวให้นำมาแช่น้ำเย็นสักครู่แล้วบรรจุถุงขนาด บรรจุ 1 กก. ถึง 5 กก.

การตัดแต่งทรงพุ่ม เมื่อเก็บยอดผักหวานบ้าน ควรตัดแต่งทรงต้นไม้ให้สูงเกินกว่า 70 เซนติเมตร เพื่อสะดวกในการเก็บยอดอายุประมาณ 1-2 ปี ควรมีการทำสาวโดยการตัดต้นให้ต่ำ คือให้ สูงเพียง 1 ฟุต

โรคแมลงในผักหวานบ้านที่พบ เพลี้ยแป้ง ใบยอดหงิก

การป้องกันและกำจัดศัตรูพืชของผักหวานบ้าน โรคโคนเน่าแปลงปลูก และน้ำขัง เชื้อรา จะเข้าไปทำลายทำให้ต้นเหี่ยว ควรขุดต้นเผาไฟเพื่อป้องกันการระบาดของเพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน

การนำมาประกอบอาหาร ผักหวานบ้าน สามารถประกอบอาหารได้หลายอย่าง เช่น ผักหวานผัดน้ำมันหอย ผัดไฟแดง แกงเลียง แกงส้ม แกงจืด ชุบแป้งทอด ก๋วยเตี๋ยวผักหวาน ยำผักหวาน ฯลฯ

คุณค่าทางอาหาร ผักหวานบ้านมีคุณค่าทางโภชนาการมากมาย มีสารอาหารหลายชนิด ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยเฉพาะวิตามินซี

ต้นทุนการผลิต/ไร่ รายการ ระยะปลูก 50x50 ซม. ระยะปลูก 1x2 เมตร ค่าต้นพันธุ์ ค่าปุ๋ยเคมี ค่าปุ๋ยคอก 3 บาทx5,000ต้น =15,000 บ. 580บาทx4กระสอบ=2,320บ. 2บาทx500 กก.= 1,000 บาท 3บาทx800ต้น = 2,400 บ. 580 บาท x 1 กระสอบ = 580 บ. 2บาท x 200 กก.= 400 บ. รวม 18,320 บาท รวม 3,380 บาท  

ผลตอบแทน. ผักหวานอายุ 3 เดือนขึ้นไปผลผลิต. จะเพิ่มขึ้น ผลตอบแทน * ผักหวานอายุ 3 เดือนขึ้นไปผลผลิต จะเพิ่มขึ้น * 1,000 ต้น เก็บยอดเฉลี่ย 10 กก./ครั้ง/ 15 วัน * ราคาจำหน่าย 40 – 50 บาท/กก.