( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
เป้าหมายความคาดหวัง สร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2555 ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ เขต 3 21 มีนาคม 2555 ณ ศวพ.สุรินททร์
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การสัมมนาสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน ประจำปี 2551 แผนการดำเนินการ ประจำปี 2551 สถาบันความปลอดภัย ในการทำงาน 1.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างเขตปลอดโรค พิษสุนัขบ้า.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.) ถ่ายทอดแนวทางปลอดโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดจันทบุรี วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลพลับพลานารายณ์ จ.จันทบุรี ภายใต้ความร่วมมือของเครือข่ายส่งเสริมการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าภาคตะวันออก ( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า เมื่อ 4,00 ปีที่แล้วมีการพบสุนัขบ้ากัดผู้คน

โรคพิษสุนัขบ้า หรือ โรคกลัวน้ำ หรือ โรคกลัวน้ำ เป็นโรคติดต่ออันตรายเกิดจากเชื้อไวรัส ติดต่อจากสัตว์สู่คน เมื่อได้รับเชื้อ / เกิดอาการแล้ว จะเสียชีวิตทุกราย ในแต่ละปีทั่วโลก จะมีคนถูกสุนัขมีอาการน่าสงสัยกัดเป็นจำนวนหลายล้านคน และเสีย ชีวิตประมาณ 55,000 ราย

เชื้อโรคพิษสุนัขบ้าเป็นไวรัสชนิดหนึ่ง ติดต่อจากสัตว์สู่คน โดยมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นตัวกลาง(พาหะนำโรค)

องค์การอนามัยโลก ปี คศ.2020 องค์การควบคุมโรคระบาดสัตว์ ระหว่างประเทศ (OIE) กำหนดเป้าหมายให้ทุกประเทศเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไป ภายใน ปี คศ.2020

RFA ความร่วมมือกระทรวงสาธารณสุข รัฐบาลไทยเห็นด้วยกับหลักการมีมติมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง RFA คร. สป. ปศ. สปถ. ความร่วมมือกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงมหาดไทย

ระดับท้องถิ่น ยุทธศาสตร์เร่งรัดกำจัด โรคพิษสุนัขบ้า สธ. ปศอ. สคร. ปศข. ระดับภาค สธ. สคร. ปศข. ท้องถิ่น อปท. ปศอ. รพสต. อสศ. ระดับท้องถิ่น

สถานการณ์โรคประเทศไทย นพ.ประเสริฐ ทองเจริญรวบรวมรายงานตั้งแต่ปี พ.ศ.2472-2521 พบว่าแต่ละปีจะมีคนเสียชีวิต 150-300 คน ปัจจุบันประเทศไทยจะมีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรค พิษสุนัขบ้า ปีละ10-15 คน แต่จะพบผู้สัมผัสโรค มากถึง ปีละ 500,000 ราย และมีชาวต่างชาติด้วย ปี พ.ศ.2554

จุดเน้น ปี 2556 โรคพิษสุนัขบ้า ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง ประเด็นโรคที่เป็นปัญหารายภาค ภาคเหนือ โรคติดเชื้อสเตร็พโตค๊อกคัสซูอิส ภาคกลาง โรคพิษสุนัขบ้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรคพยาธิใบไม้ในตับ ภาคใต้ โรคติดต่อที่ป้องกันด้วยวัคซีน

แนวโน้มการเกิด อดีต ปัจจุบัน โรคพิษสุนัขบ้า ผู้สัมผัสโรค ผู้ป่วยเสียชีวิต อดีต ปัจจุบัน

ผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2550 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 5 ราย ( ชลบุรี 2 ราย / ระยอง 2 ราย/สระแก้ว 1 ราย ) ปี 2551 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย ( ชลบุรี 1 ราย / สระแก้ว 1 ราย ) ปี 2552 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย ( ระยอง 2 ราย ) ปี 2553 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย (ชลบุรี 1 ราย ) ปี 2554 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ( ระยอง 1 ราย ) ปี 2555 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ( จันทบุรี ) ปี 2556 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ( ปราจีนบรี )

แนวโน้มการสร้างพื้นที่ฯ สรุปผลการประเมินเลื่อนระดับพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ปีงบประมาณ 2553 ที่ หลักเกณฑ์ ฉช. ชบ. รย. จบ. ตร. นย. ปจ. สก. สป. 1. พบผู้เสียชีวิต ( ปี2551-2553) X √ XX 2. ส่งสุนัขตรวจพบเชื้อ 3. สุ่มเก็บตัวอย่าง(0.01%)ไม่พบเชื้อ (ปี2551-2552) - 4. ขึ้นทะเบียนสุนัข 80 % 5. สุนัขฉีดวัคซีน 80 % 6. มีระบบเฝ้าระวังการเคลื่อนย้ายสุนัขเข้า-ออก สรุปสถานะรายอำเภอ C B แนวโน้มการสร้างพื้นที่ฯ A ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์เขต 2 ฉะเชิงเทรา

พื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า Rabies Free Area หมายถึง พื้นที่ไม่ปรากฏโรคพิษสุนัขบ้าในคนและในสัตว์ทุกชนิด ในพื้นที่มีการเฝ้าระวังค้นหาอย่างทั่วถึง และมีมาตรการควบคุมการนำสัตว์เข้ามาในพื้นที่นั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา

การแบ่งพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า พื้นที่ C พื้นที่มีรายงานคน/สัตว์เสียชีวิต พื้นที่ B พื้นที่ไม่พบรายงานคนเสียชีวิตตลอดเวลา 2 ปี แต่ยังพบรายงานสัตว์ตาย พื้นที่ A พื้นที่ไม่พบรายงานโรคในคน/ในสัตว์ ตลอดเวลา 2 ปี การแบ่งพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า

3. สุนัขได้รับการฉีดวัคซีน 100 % 5. การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์สำเร็จสำเร็จครอบคลุม 100 % 4. สุนัขได้รับการจดทะเบียน 100 % ไม่มีสุนัขจรจัดในพื้นที่สาธารณะ มีการเฝ้าระวังสุนัขเข้า-ออกในพื้นที่ 3. สุนัขได้รับการฉีดวัคซีน 100 % 2. ไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ต่อเนื่อง 2 ปี จากพื้นที่ A (สุ่มตรวจ 0.01 % ) 1. ไม่มีคนเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ต่อเนื่อง 2 ปี จากพื้นที่ A

คณะทำงานส่งเสริมการสร้างพื้นที่ ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า คณะทำงาน RFA.ระดับภาค คณะทำงาน RFA.จังหวัด คณะทำงาน RFA.อำเภอ คณะทำงาน RFA.อปท. คณะทำงาน RFA.อปท. คณะทำงาน RFA.อปท.

ทำไม ? อปท.จะต้องดำเนินการเรื่องนี้ ปฏิบัติ ตาม กม. นโยบายWHO./OIE รัฐบาล ภารกิจหน้าที่ตามกฏหมาย

กฏหมายที่เกี่ยวข้อง - พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2523 - พรบ.โรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ.2535 - พรบ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ.2499

ปัญหาที่พบ.. 1.ในสัตว์เลี้ยง 2.ในคน ความครอบคลุมการฉีด วัคซีนน้อยกว่า 80 % ไม่มีการควบคุมการ เคลื่อนย้ายสัตว์เลี้ยง การส่งหัวสุนัขตรวจ หาเชื้อลดลง ไม่ดูแลเอาใจใส่ การเลี้ยงสุนัข/แมว พฤติกรรมการให้ อาหารสุนัขจรจัด

ปีละ1,000 ล้านบาท ค่าฉีดวัคซีน ค่าใช้จ่ายการเดินทาง 5 เข็ม x 500 บาท ต้องฉีดอิมมูโนโกลบุลิน (RIG) 2,000 บาท ค่าใช้จ่ายป้องกันควบคุม ปีละ1,000 ล้านบาท ค่าบริหารจัดการป้องกันควบคุมโรค 10,000 บาท เสียเวลา / เสียโอกาส

Facebook : east.rabies2556@gmail.com โทร 089-0926332 Facebook : east.rabies2556@gmail.com phasukaka@hotmail.co.th

sugus

Working together to make rabies history ร่วมมือ ขจัดภัย โรคพิษสุนัขบ้า ให้หมดไป เป็นตำนานเล่าขาน