ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Carbohydrate Ramida Amornsitthiwat, M.D. Pichanee Chaweekulrat, M.D.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
โครโมโซม.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีรูปร่าง และโครงสร้างที่แตกต่างกัน
BIOL OGY.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
การเสื่อมเสียของอาหาร
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
CARBOHYDRATE.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Protein.
Carbohydrates  Macromolecules  Micromolecules - sucrose - starch
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Chemical Properties of Grain
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 1 Introduction.
สมบัติพื้นฐานและการเลือกใช้ประโยชน์ของเทอร์โมพลาสติก
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
whey เวย์ : casein เคซีน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
Biochemistry Quiz 2009.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
การจำแนกประเภทของสาร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป 5 คะแนน ตอบถูก 7 ข้อ 4 คะแนน ตอบถูก 6 ข้อ 3 คะแนน ตอบถูก 5 ข้อ 2 คะแนน ตอบถูกน้อยกว่า 4 ข้อ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกเลยไม่ได้รับคะแนน.
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE.
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE II.
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด มีหลายชื่อ สามารถแบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้

1.น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โมโนแซคคาไรด์ : Monosaccharide เช่น (กลูโคส : Glucose,ฟลุกโตส : Fructose)

น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว กลูโคส : Glucose ฟลุกโตส : Fructose Aldehyde = Aldose Ketone = Ketose

Glycoaldehyde Glyceraldehyde Dihydroxyacetone C=2, Diose C=3, Triose C=4, Tetrose Erythrose Erythrulose

Ribose Ribulose C=5, Pentose C=6, Hexose C=7, Heptose Galactose Psicose Sedoheptulose Mannoheptulose

โดยสรุปแล้ว คาร์โบไฮเดรตจะมีรูปร่าง หน้าตา แบ่งออกตามกลุ่ม เช่น น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ก็จะมีรูปร่างเป็นสารโมเลกุลเล็กๆ อาจมีลักษณะโครงสร้างเป็นเส้นสั้นๆที่เกิดจาก สารประกอบของธาตุคาร์บอน (คาร์โบ) และน้ำ (ไฮเดรต) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ คาร์โบไฮเดรต และโครงสร้างที่เป็นเส้นนี้เองสามารถมาเชื่อมกันเป็นวงปิด มีลักษณะเป็นเหลี่ยมได้

2.น้ำตาลโมเลกุลคู่ ไดแซคคาไรด์ : Disaccharide เช่น (มอลโตส : Maltose, ซูโครส : Sucrose)

น้ำตาลโมเลกุลคู่ มอลโตส : Maltose α(1→4) หรือ α(1→6) ซูโครส : Sucrose Glycosidic bond

น้ำตาลโมเลกุลคู่ ก็จะมีรูปร่างที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวด้วยพันธะ Glycosidic เกิดเป็นน้ำตาลที่มีลักษณะเป็นวง สอง โมเลกุล ซึ่งเมื่อน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีลักษณะเป็นวงนี้มาเชื่อมต่อกันหลายโมเลกุลเข้าก็จะทำให้เกิด คาร์โบไฮเดรตที่มีลักษณะเป็นเส้นสายยาวๆ เกิดขึ้น

3.โมเลกุลสายยาว โอลิโกแซคคาไรด์ : Oligosaccharide (3-10 โมเลกุล) โพลีแซคคาไรด์ : Polysaccharide (>10 โมเลกุล) เช่น (แป้ง : Starch, เซลลูโลส : Cellulose)

โมเลกุลสายยาว (Poly-) แป้ง : Starch α(1→4) หรือ α(1→6) เซลลูโลส : Cellulose β(1→4)

ไกลโคเจน : Glycogen α(1→4) หรือ α(1→6)

ราฟฟิโนส : Raffinose (Oligo-) (Trisaccharide : Galactose + Fructose + Glucose)

ไคติน : Chitin (Polymer of N-acetylglucosamine)

คุณสมบัติ และ หน้าที่ คาร์โบไฮเดรตทำหน้าที่หลายอย่างในสิ่งมีชีวิต แต่ที่ถือว่าเป็นหน้าที่หลักๆ ได้แก่ น้ำตาล ไกลโคเจน และ แป้งเป็นแหล่งของเชื้อเพลิงที่ใช้ในการเผาผลาญเพื่อให้ได้พลังงานในสิ่งมีชีวิต (ไกลโคไลซิส : Glycolysis และ ทีซีเอ ไซเคิล : TCA cycle ) เซลลูโลส ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างให้สิ่งชีวิต จำพวก พืช ไคติน เป็นโครงสร้างให้สิ่งมีชีวิต เช่น กุ้ง แมลง เป็นต้น