นิติกรรมและสัญญา ศ.ดร. กำชัย จงจักรพันธ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของงานนิติการ
Advertisements

บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทที่ 1 เรื่อง การฝากขาย Chollada Advance I : Consign.
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
LA 102: Business Law สัญญาซื้อขาย.
กฎหมายมรดก.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
วิชา มรดก ครั้งที่ ๔ เมทินี ชโลธร.
วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร.
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
งานดัชนีและบันทึกข้อมูล ฝ่ายประวัติบุคคล ทพ.
ชายจีนแบกถังน้ำ.
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
แนวทางการจำหน่ายดินที่ได้จากการขุดลอก ในที่ราชพัสดุ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
การร่วมค้า (Joint Venture)
กฎหมายลักษณะบุคคล.
YOUR SUBTITLE GOES HERE
การจัดเก็บภาษีรถจักรยานยนต์
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
การจัดทำฐานข้อมูลที่ดิน เอกชน กลุ่มจัดซื้อและบริหารจัดการที่ดินเอกชน.
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การศึกษาความเป็นไปได้ FEASIBILITY STUDY
กฎหมายที่หัวหน้างานควรรู้
โดย อ.เดชา กิตติวิทยานันท์ วิทยากรฝึกอบรม
ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ
กฎหมายแพ่งว่าด้วยหนี้ (Law of Obligations)
กลุ่มบริหารกฎหมายสาธารณสุข กรม อนามัย
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
เปิดดำเนินการ.
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชากฎหมายธุรกิจ สัญญาเช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
By Kru.Jindawan Boonchakorn. ระบบสารสนเทศต้องผลิตสารสนเทศที่มี ความเชื่อถือได้ โดยพิจารณาจาก  ความถูกต้องแม่นยำ (Accurate) ระบบ สารสนเทศต้องมีการประมวลผลข้อมูลได้
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์.
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
การรับฟังพยานหลักฐาน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
สถาบันเศรษฐกิจ.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
วิชา น. 101 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์กู้ยืม
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
9 คำถามหลังเรียน.
บทที่ 7 อากรแสตมป์.
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
สถานะของกฎหมายประกันภัยทางทะเล และบทบาทของ Marine Insurance Act 1906
ปัญหาการพิจารณาและกำหนด สถานะทางกฎหมาย การจัดการต่อนิติสัมพันธ์ที่ เกิดขึ้นในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ ปัญหาประสิทธิภาพในการ บังคับใช้กฎหมาย ปัญหาการพิจารณาบ่อเกืด.
วิชา น. 765 กฎหมายประกันภัยทางทะเล
การเชื่อมโยงข้อมูลหลักผู้ขาย
ระเบียบวาระการประชุม ศปส.ทร. ณ ห้องประชุม สก.ทร. (ชั้น ๓)
กรมธรรม์ประกันภัย Insurance Policy
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
Creative Accounting
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิติกรรมและสัญญา ศ.ดร. กำชัย จงจักรพันธ์

ประเภทของนิติกรรม นิติกรรมฝ่ายเดียวกับนิติกรรมสองฝ่ายหรือหลายฝ่าย นิติกรรมที่มีผลระหว่างผู้แสดงเจตนามีชีวิตอยู่กับนิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้แสดงเจตนาเสียชีวิตแล้ว นิติกรรมที่มีค่าตอบแทนกับนิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน นิติกรรมที่มีเงื่อนไข เงื่อนเวลากับนิติกรรมที่ไม่มีเงื่อนไขเงื่อนเวลา นิติกรรมที่สมบูรณ์โดยการแสดงเจตนาตามปกติกับนิติกรรมที่สมบูรณ์โดยการแสดงเจตนาตามแบบที่กฎหมายกำหนด

1. นิติกรรมฝ่ายเดียวกับนิติกรรมสองฝ่ายหรือหลายฝ่าย - นิติกรรมฝ่ายเดียวโดยไม่ต้องมีผู้รับซึ่งการแสดงเจตนา - นิติกรรมฝ่ายเดียวโดยต้องมีผู้รับซึ่งการแสดงเจตนา

2. นิติกรรมที่มีผลระหว่างผู้แสดงเจตนามีชีวิตอยู่กับนิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้แสดงเจตนาเสียชีวิตแล้ว พิจารณาว่านิติกรรมนั้นมีผลเมื่อใด

3. นิติกรรมที่มีค่าตอบแทนกับนิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน ตัวอย่างนิติกรรมไม่มีค่าตอบแทน -สัญญายืมใช้คงรูป (ม. 640) -สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง (ม.650) -สัญญาฝากทรัพย์ (ไม่มีบำเหน็จ) (ม. 657) -สัญญาให้ (โดยเสน่หา) (ม. 521)

ตัวอย่างนิติกรรมมีค่าตอบแทน สัญญาซื้อขาย (ม. 453) สัญญาเช่าทรัพย์ (ม. 537) สัญญาเช่าซื้อ (ม. 572) สัญญาหุ้นส่วน (ม. 1012)

4.นิติกรรมที่มีเงื่อนไขเงื่อนเวลากับนิติกรรมที่ไม่มีเงื่อนไขเงื่อนเวลา เงื่อนไข คือเหตุการณ์ในอนาคตซึ่งไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้น เงื่อนเวลา คือกำหนดเวลาในอนาคตที่ต้องมาถึงแน่นอน

5.นิติกรรมที่สมบูรณ์โดยการแสดงเจตนาตามปกติกับนิติกรรมที่สมบูรณ์โดยการแสดงเจตนาตามแบบที่กฎหมายกำหนด การแสดงเจตนาด้วยวาจา การแสดงเจตนาด้วยอากัปกิริยา ท่าทาง การแสดงเจตนาโดยลายลักษณ์อักษร การแสดงเจตนาโดยอาณัติสัญญาณต่าง ๆ ฯลฯ

การแสดงเจตนาตามแบบที่กฎหมายกำหนด ย่อมเป็นไปตามแบบที่กฎหมายกำหนดไว้ อาทิ - ทำเป็นหนังสือ - ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฯลฯ

ความแตกต่างระหว่างการแสดงเจตนาตามแบบที่กฎหมายกำหนด เช่น การทำเป็นหนังสือ กับการแสดงเจตนาตามปกติ เช่น การทำเป็นหนังสือ