การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในวัยเด็ก
หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การเจริญเติบโตของมนุษย์
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
การพัฒนาการทางกาย ของวัยรุ่น.
พัฒนาการของทารกแรกเกิดถึง 1 ปี
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย นนอ. ๑. ตรวจสอบ นนอ. ไม่ผ่านสถานีใด ๒
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การชักและหอบ.
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
พลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 6 หลักการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
การเจริญเติบโตของร่างกาย
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
การเจริญเติบโตของร่างกาย
กบ Breast Stroke.
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
พรพรรณ เจริญวัฒนวิญญู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
วัยรุ่นเป็นวัยที่มีความเปลี่ยนแปลง ทางร่างกายรวมถึงระดับฮอร์โมน จึง ส่งผลให้วัยรุ่นมีความสนใจเพศตรง ข้าม รวมถึงความอยากรู้อยากลอง ตามช่วงวัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน

เยาวชน เยาวชน (อังกฤษ: Youth) คือ ช่วงอายุระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ ความหมายตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ เยาวชน หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึง ๑๘ ปีบริบูรณ์ และไม่ใช่ผู้บรรลุนิติภาวะแล้วจากการจดทะเบียนสมรส ในทางกฎหมายก็ถือว่าบุคคลที่มีอายุระหว่างนี้เป็นเยาวชนและหากต้องระวางโทษก็จะพิจารณาโทษแตกต่างจากผู้ใหญ่

นักกีฬาจีน ขายเหรียญทอง

National Strength and Conditioning Association (NSCA) อายุที่เหมาะสม ที่จะเริ่มฝึกความแข็งแรงคือ 7 ขวบขึ้นไป (สามารถลองฝึกวิดพื้น ซิตอัพได้ เป็นต้น) http://kidshealth.org/parent/nutrition_center/staying_fit/strength_training.html#

สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการทำท่าทางการออกกำลังกายให้ถูกต้อง

เริ่มฝึกจากแรงต้านที่น้อยมากๆก่อน( 20 ครั้งขึ้นไป) การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ เป็นสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นได้บ่อยที่สุด และหลังส่วนล่างจะเป็นที่ที่ต้องระวังมากี่สุด สาเหตุส่วนมากมาจาก การฝึกในท่าที่ผิด และการใช้น้ำหนักที่มากเกินไป ควรฝึกโดยใช้จำนวนครั้งที่มาก น้ำหนัก แรงต้านน้อย(ถ้าทำได้ไม่ถึง 8 ครั้งแสดงว่าหนักไป จำนวนที่เหมาะสมคือประมาณ 15 ครั้ง) ทุกครั้งในการฝึกต้องคำนึงถึงท่าที่ถูกต้องและเทคนิคที่ดี ควรมีคนสอนอยู่ด้วยทุกครั้ง

Program Guidelines The NSCA offers these guidelines for strength-training programs ครูฝึกหนึ่งคน ไม่ควรดูแลเด็กเกินกว่า 10 คน ครูฝึกควรมีประสบการณ์ในการฝึกสอนเด็ก การฝึกทุกครั้งควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย แสงสว่างเพียงพอ มีการระบายอากาศที่ดี ควรมีการอบอุ่นร่างกายและการยืดเหยียดก่อนและหลังฝึกทุกครั้ง เด็กควรฝึก 6-8 ท่าของกล้ามเนื้อหลัก โดยแต่ละท่าทำ 8-15 ครั้ง ท่าละไม่เกิน 3 เซ็ต

ควรเริ่มการฝึกด้วยการไม่ไม่แรงต้าน ไม่ใส่น้ำหนัก จนกว่าจะทำท่าได้อย่างถูกต้อง และมีเทคนิคที่ดี(เช่นการหายใจ จังหวะการฝึก) เริ่มฝึกด้วยจำนวนครั้งที่มาก ถ้าเริ่มแข็งแรงขึ้นค่อยทำการเพิ่มน้ำหนัก โดยไม่ควรเกิน 5-10 %ในการเพิ่มความหนักของการฝึก ถ้าต้องการเพิ่มความเข้มข้นของการฝึกอาจเพิ่มจำนวนเซ็ต(จนถึง 3 เซ็ต)หรือทำการเพิ่มชนิด ท่าของการออกกำลังกาย ควรมีโปรแกรมการฝึกแรงต้านอยู่ที่ 2-3 ครั้งต่ออาทิตย์ โดยไม่ควรมีวันที่ฝึกแรงต้านติดกัน

ควรฝึกที่จะใช้ข้อต่อหลายข้อและกล้ามเนื้อหลายมัด มากกว่าการฝึกที่ใช้เพียงข้อต่อหรือกล้ามเนื้อมัดเดียว เช่น การฝึกในท่ากระโดดต่างๆ การฝึกท่าลุกนั่ง ซึ่งเหมาะสำหรับกระดูกสันหลัง กระดูกขา กระดูกสะโพกและการฝึกแบบวิดพื้น ดึงข้อ หรือแม้แต่การใช้ดัมเบลล์ที่ไม่หนักจนเกินไป โดยฝึกในท่าที่ดันขึ้น หรือดึง/ผลัก เพื่อช่วยกระตุ้นสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและกระดูกส่วนบนของร่างกาย

• การพักฟื้นไม่เพียงพอ ก็อาจส่งผลให้เกิดการหักหรือแตกร้าวของกระดูก รวมถึงการเจ็บกล้ามเนื้อที่มีการใช้งานมากๆได้ ดังนั้นจึงควรมีการสลับส่วนของร่างกายที่ใช้ในการฝึกดังที่ยกตัวอย่างมาข้างต้น • การใช้อุปกรณ์มีข้อผิดพลาด เช่น ใช้อุปกรณ์ที่ไม่เหมาะสมกับขนาดและความสามารถของร่างกาย โดยเด็กไม่ควรใช้อุปกรณ์ที่มีขนาดใหญ่เกินกว่าร่างกาย หรือมีน้ำหนักมากเกินไปจนไม่สามารถควบคุมจังหวะการเคลื่อนไหวที่เหมาะสมได้ • ได้รับโภชนาการที่ไม่ดีพอ เพราะถ้ามีการออกกำลังกาย ร่างกายจะต้องการสารอาหารสำหรับนำไปซ่อมแซมส่วนที่สึกเหรอ รวมถึงเสริมสร้างการเจริญเติบโตมากขึ้น ดังนั้นถ้าร่างกายได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอจะทำให้เกิดการบาดเจ็บที่เรื้อรังและทำให้ร่างกายมีการเจริญเติบโตอย่างไม่เหมาะสม แม้จะออกกำลังกายเป็นประจำก็ตาม

อาการบาดเจ็บ