สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ขนมดอกดิน ผู้จัดทำ กรองทอง ใสยิ่ง ช่อทิพย์ แก้วซ้อน ทิพย์วิมล ตันศรี
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
อาหารหลัก 5 หมู่.
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
การปักชำ เป็นการขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนต่างๆของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้นให้เจริญงอกงามเติบโตต่อไป.
อาหารไทย 4 ภาค.
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
เฟื่องฟ้า ชื่อวิทยาศาสตร์ Bougainville Spp. ชื่อวงศ์ NYCAGINACEAE
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การกระตุ้นให้ มัลเบอร์รี่ ( หม่อนพันธุ์ลูกดก ) ออกผล
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
กระชาย กระชายเป็นพืชผักในวงศ์เดียวกับขิง มีเหง้าหรือโคนลาต้นจมอยู่ใต้ดิน มีรากเรียว ยาวอวบน้ำ และออกเป็นกระจุก ส่วนเหง้าและรากที่มัก เรียกกันว่า หัว จะมีกลิ่นจัดเฉพาะตัวเนื่องจากมีน้ำ.
Story board.
รายงาน Zoo Map Resame.
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน 65%
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
Next.
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
กล้วย.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์ โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สมาชิกกลุ่ม 6 ชมเชยที่ 6 1.ด.ญ.ชลธิชา สอดศรี เลขที่ 29
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้าน โดย สำนักงานเกษตรอำเภอสุขสำราญ
แพทย์แนะกินสมุนไพรไทย 8 ชนิด สู้ไข้หวัด รับหน้าหนาว
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์ สมุนไพร “ ขมิ้นทอง ” นำเสนอโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์

ขมิ้นทอง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn. วงศ์ : Zingiberaceae ชื่อสามัญ : ขมิ้น ชื่อท้องถิ่น : ขมิ้น (ทั่วไป) ขมิ้นป่า ขมิ้นทอง ขมิ้นชัน ขมิ้นหัว (เชียงใหม่) ขมิ้นแกง พญาว่าน สะยอ (แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทั่วไป : - ไม้ล้มลุกสูง 30 – 90 เซนติเมตร - หัวใต้ดิน รูปไข่ มีแขนงรูปทรงกระบอก แตก ออกด้านข้างทั้งสองด้าน เนื้อในมีลักษณะสีเหลืองทองหรือเหลือง ส้ม

ลักษณะทั่วไป (ต่อ) : - ใบ เดี่ยวแทงขึ้นจากหัว ออกเรียงสลับซ้อนกัน ลักษณะทั่วไป (ต่อ) : - ใบ เดี่ยวแทงขึ้นจากหัว ออกเรียงสลับซ้อนกัน - ผล มีลักษณะกลม 3 พู - ดอก เป็นช่อรูปทรงกระบอกคล้ายกับดอกกระเจียว กลีบดอกมีสีเหลืองอ่อน

การขยายพันธุ์ : ใช้หัว

สารสำคัญ ได้แก่ - น้ำมันหอมระเหยประมาณ 3 – 4% - เคอร์คิวมิน (Curcumin) ประโยชน์ : ปรุงแต่งกลิ่นและรสในอาหาร โดยเฉพาะอาหาร ทางภาคใต้ เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา แกงกะหรี่ และไก่ทอด ขมิ้น เป็นต้น สารสำคัญ ได้แก่ - น้ำมันหอมระเหยประมาณ 3 – 4% - เคอร์คิวมิน (Curcumin)

ส่วนที่ใช้ : เหง้าสด และแห้ง ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา จะเก็บ เมื่ออายุ 7 – 9 เดือน ข้อควรระวัง : ไม่ควรซื้อผงขมิ้นตามท้องตลาด เนื่องจากกรรมวิธีในการทำมักใช้ความร้อน ซึ่งมีผลทำให้น้ำมันหอมระเหย ซึ่งมีฤทธิ์รักษาโรคระเหยไป

สรรพคุณทางยา : ฤทธิ์ขับน้ำดี กระตุ้นการขับน้ำดี ช่วยให้การย่อยอาหารดีขึ้น บรรเทาอาการท้องอืด บำรุงร่างกาย/ตับ รักษาระบบทางเดินหายใจที่ผิดปกติ หืด ไอ อาการเวียนศรีษะ ฤทธิ์ลดการบีบตัวของลำไส้ ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร

สรรพคุณทางยา (ต่อ) : ลดการอักเสบ และอาการภูมิแพ้ ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการก่อการกลายพันธ์และต้านการเกิดมะเร็ง ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อราที่เป็นสาเหตุจากโรคกลาก

การขยายพันธุ์ : การปักชำหรือเพาะเมล็ด โดยตัดกิ่งแก่ยาว ประมาณ 1 ศอก การใช้ประโยชน์ : - ด้านเนื้อไม้ - ด้านโภชนาการ ยอดอ่อนและใบอ่อนนำมารับประทานเป็นผัก แต่มีรสเปรี้ยวช่วยดับกลิ่นคาวปลาได้ นิยมนำมาปรุงเป็นแกงปลา แกงส้ม หรือจอ (อาหารเหนือ) เวลาแกงอาจผสมยอดมะขาม