สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์ สมุนไพร “ ขมิ้นทอง ” นำเสนอโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ขมิ้นทอง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn. วงศ์ : Zingiberaceae ชื่อสามัญ : ขมิ้น ชื่อท้องถิ่น : ขมิ้น (ทั่วไป) ขมิ้นป่า ขมิ้นทอง ขมิ้นชัน ขมิ้นหัว (เชียงใหม่) ขมิ้นแกง พญาว่าน สะยอ (แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทั่วไป : - ไม้ล้มลุกสูง 30 – 90 เซนติเมตร - หัวใต้ดิน รูปไข่ มีแขนงรูปทรงกระบอก แตก ออกด้านข้างทั้งสองด้าน เนื้อในมีลักษณะสีเหลืองทองหรือเหลือง ส้ม
ลักษณะทั่วไป (ต่อ) : - ใบ เดี่ยวแทงขึ้นจากหัว ออกเรียงสลับซ้อนกัน ลักษณะทั่วไป (ต่อ) : - ใบ เดี่ยวแทงขึ้นจากหัว ออกเรียงสลับซ้อนกัน - ผล มีลักษณะกลม 3 พู - ดอก เป็นช่อรูปทรงกระบอกคล้ายกับดอกกระเจียว กลีบดอกมีสีเหลืองอ่อน
การขยายพันธุ์ : ใช้หัว
สารสำคัญ ได้แก่ - น้ำมันหอมระเหยประมาณ 3 – 4% - เคอร์คิวมิน (Curcumin) ประโยชน์ : ปรุงแต่งกลิ่นและรสในอาหาร โดยเฉพาะอาหาร ทางภาคใต้ เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา แกงกะหรี่ และไก่ทอด ขมิ้น เป็นต้น สารสำคัญ ได้แก่ - น้ำมันหอมระเหยประมาณ 3 – 4% - เคอร์คิวมิน (Curcumin)
ส่วนที่ใช้ : เหง้าสด และแห้ง ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา จะเก็บ เมื่ออายุ 7 – 9 เดือน ข้อควรระวัง : ไม่ควรซื้อผงขมิ้นตามท้องตลาด เนื่องจากกรรมวิธีในการทำมักใช้ความร้อน ซึ่งมีผลทำให้น้ำมันหอมระเหย ซึ่งมีฤทธิ์รักษาโรคระเหยไป
สรรพคุณทางยา : ฤทธิ์ขับน้ำดี กระตุ้นการขับน้ำดี ช่วยให้การย่อยอาหารดีขึ้น บรรเทาอาการท้องอืด บำรุงร่างกาย/ตับ รักษาระบบทางเดินหายใจที่ผิดปกติ หืด ไอ อาการเวียนศรีษะ ฤทธิ์ลดการบีบตัวของลำไส้ ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
สรรพคุณทางยา (ต่อ) : ลดการอักเสบ และอาการภูมิแพ้ ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการก่อการกลายพันธ์และต้านการเกิดมะเร็ง ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อราที่เป็นสาเหตุจากโรคกลาก
การขยายพันธุ์ : การปักชำหรือเพาะเมล็ด โดยตัดกิ่งแก่ยาว ประมาณ 1 ศอก การใช้ประโยชน์ : - ด้านเนื้อไม้ - ด้านโภชนาการ ยอดอ่อนและใบอ่อนนำมารับประทานเป็นผัก แต่มีรสเปรี้ยวช่วยดับกลิ่นคาวปลาได้ นิยมนำมาปรุงเป็นแกงปลา แกงส้ม หรือจอ (อาหารเหนือ) เวลาแกงอาจผสมยอดมะขาม