เทคนิคการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization Building Technique) อ.ดร.กีรติ ยศยิ่งยง Kirati_y8@yahoo.com www.gotoknow.org/blog/kiratiacademy
โลกาภิวัตน์ / เศรษฐกิจฐานความรู้
ลักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรที่มีการเรียนรู้จะมีกระบวนการลักษณะที่เคลื่อนไหว ยืดหยุ่นเป็นพลวัตที่ไม่หยุดนิ่งหรือพึงพอใจกับความสำเร็จที่มีอยู่ สมาชิกขององค์กรต้องมีการขวนขวายหาความรู้เพื่อมาแบ่งปันและเผยแพร่แก่กัน เพื่อพัฒนางานในหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ฐานคิดสำคัญขององค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กร คือ สิ่งมีชีวิต (Organic) ไม่ใช่เครื่องจักร (Mechanic) เพราะ “คน” คือ พลังขับเคลื่อนสำคัญ “คน” ไม่ใช่ “ต้นทุน” แต่เป็น “ทุนมนุษย์” ที่เป็นทุนมนุษย์ เพราะในตัวคนมี ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดความชำนาญการ คือมี “ทุนความรู้” ทำอย่างไรให้ความรู้ในตัวคน กลายเป็นความรู้ ที่เป็นประโยชน์สำหรับคนทั้งองค์กรได้? เพราะ “ความรู้” คือ “อำนาจ”
องค์กรแห่งการเรียนรู้ คือ อะไร? องค์กรที่มีกระบวนการสั่งสม สร้างและใช้องค์ความรู้ จากภายในและภายนอกองค์กร ขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ Learning Organization Hard Ware Soft Ware People Ware Socialization Externalization Combination Internalization Enabling conditions Knowledge from individual & group To be knowledge in organization Empowering Style Structure IT Infrastructure IT System-program
เหตุผลความจำเป็น ความรู้เป็นกุญแจสำคัญในการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันทื่องค์กรต่างๆ ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ในองค์กรมากยิ่งขึ้น ดังที่ Sprenger and Ten Have (1996) กล่าวไว้ว่า การบริหารจัดการความรู้จะประสบผลสำเร็จได้ จำเป็นต้องมีสมรรถนะ 4 ประการ เพื่อบริหารจัดการกระแสความรู้ภายในองค์กร
สมรรถนะสองประเภทหลักที่ส่งผลต่อความสำเร็จอย่างมีความสุข Results Technical Competencies Learning Competencies Extrinsic Logical Intrinsic Psychological
สมรรถนะ 4 ประการสู่องค์กรและสังคมแห่งการเรียนรู้ การดูดซับความรู้จากภายนอก (Absorption) การเผยแพร่ความรู้จากภายใน (Diffusion) การก่อเกิดความรู้ขึ้นจากภายใน (Generation) การใช้ประโยชน์จากความรู้ในการพัฒนาผลงาน (Application)
เครื่องมือในการพัฒนาสมรรถนะแห่งการเรียนรู้ในองค์กร Absorption Diffusion Generation Application เครือข่ายอาชีพอื่นๆ การศึกษา การประชุม การติดต่อกับลูกค้า การวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขัน การประสานสัมพันธ์กับผู้ผลิต การได้รับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญภายนอก สิทธิบัตรและใบอนุญาต การวิจัย การบริหารจัดการความรู้ การสร้างฉากทัศน์โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ การใช้คู่มือ ระเบียบและขั้นตอน สารสนเทศทางความรู้ การศึกษาปฏิบัติการที่เป็นเลิศ การแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กร การสอนและเป็นพี่เลี้ยง การประเมินเพื่อร่วมงาน เครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ การหมุนเวียนงาน การบริหารจัดการโครงการ ข้อค้นพบที่ได้จากการรายงานผลหรือจากการวิจัยและพัฒนา โครงการนำร่อง การตรวจสอบคุณภาพ การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง การเสวนา การประเมินผลตนเอง การวัดผลงานและการให้รางวัล การปรับเปลี่ยนกระบวนงาน การให้ข้อมูลป้อนกลับโดยอิงกับมาตรฐานวิชาชีพ การทำงานด้วยเป้าประสงค์เดียวกันแบบข้ามสายงาน การใช้ความรู้ความชำนาญที่มีอยู่กับภารกิจใหม่ การวิจัยตลาด สนับสนุนความรู้ (ที่มีอยู่ภายในและภายนอก) ปรับปรุงผลงานตามข้อเสนอแนะของภาคีหุ้นส่วน การส่งมอบผลผลิต การฟันฝ่าอุปสรรคกีดขวางการเรียนรู้
สมรรถนะส่วนบุคคลเพื่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ ค้นหาตัวตน ตีกรอบขอบเขต หาจุดเชื่อมโยง วิสัยทัศน์ส่วนบุคคล ความคิดสร้างสรรค์ vs. ไฟเพื่อปลดปล่อย ตอกย้ำลงลึกสู่จิตใต้สำนึก นิยามวิสัยทัศน์ส่วนบุคคล ประคองความคิดสร้างสรรค์ด้วยการมุ่งความใส่ ใจไปที่ความถนัดส่วนบุคคลเพื่อผลสำเร็จอย่าง สอดคล้องกับสถานการณ์แวดล้อม เลือกให้เป็น Essences Principles Practices 1 PERSONAL MASTERY (มีความเป็นนายของตนเอง) ใฝ่สัจจะ เปิดกว้างทางความคิด ผสานทฤษฎีสู่การปฏิบัติ รู้เท่าทันบันไดแห่งการทึกทัก สร้างสมดุลย์ระหว่างการฟัง-ถาม-ตอบ ถอดรหัสข้อมูลดิบ มุ่งมั่นพิสูจน์สมมติฐาน รู้เท่าทันปฏิกิริยาทางความคิดและอารมณ์ Essences Principles Practices 2 MENTAL MODELS (มีความเชื่อฝั่งใจ) องค์รวม สรรพสิ่งเชื่อมโยงอย่างเป็นวงจร เครือข่าย โครงสร้างมีอิทธิผลต่อพฤติกรรม สลายการต้านฝืนจากนโยบาย หาจุดกระเพื่อม สร้างวงจรเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา ร่วมกัน สร้างแบบจำลองเสมือนจริง Essences Principles Practices 5 SYSTEM THINKING การมีเป้าประสงค์ร่วมกัน ภาคีหุ้นส่วน วิสัยทัศน์ร่วมจากปัจเจกบุคคล ตามความมุ่งมั่นมากกว่าตามกฎระเบียบ สร้างวิสัยทัศน์จากการมีส่วนร่วม เข้าถึงสถานภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน Essences Principles Practices 3 SHARED VISION (มีความใฝ่ฝันถึงอนาคตร่วมกัน) ภูมิปัญญาร่วม แนวทางที่สอดคล้องกัน วิวาทะและถกเถียงอย่างถึงราก ลดการปกป้องความเคยชินจากแบบแผน ประจำ ปล่อยวางสมมติฐานของตนเอง ปฏิบัติตนเยี่ยงกัลยาณมิตร ลดทอนการปกป้องตนเอง ลงมือปฏิบัติเพื่อแบ่งปันบทเรียนร่วมกัน Essences Principles Practices 4 TEAM LEARNING (เรียนรู้ร่วมกันของทีมอย่างต่อเนื่อง)
เทคนิคที่สนับสนุนองค์กรแห่งการเรียนรู้ วิธีการที่ควรนำมาใช้ในองค์การเพื่อให้บุคคลในองค์การมีการเรียนรู้ อยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ACTION LEARNING การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ BENCHMARKING มาตรฐานอ้างอิง COACHING การสอนงาน MENTORING การเป็นพี่เลี้ยง PORTFOLIO แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา
องค์กรแห่งการเรียนรู้ เทคนิคในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ในองค์การ วินิจฉัยองค์การ นำข้อมูลมาวางแผน เทคนิคการสร้าง องค์กรแห่งการเรียนรู้ ดำเนินงานตามแผน ประเมินผล
"The important thing is not to stop questioning" ANY QUESTION? "The important thing is not to stop questioning" Albert Einstein
พระบรมราโชวาท ความรู้ที่ถูกต้องแม่นยำ ทั้งทางลึกและกว้างประการหนึ่ง ความคิดเห็นที่เป็นสัมมาทิฐิ ถูกต้องด้วยเหตุผล หลักวิชา และความชอบธรรมประการหนึ่ง ความสามารถในการในการปฏิบัติกิจการงานให้สำเร็จผลตรงตามจุดหมาย อีกประการหนึ่ง เป็นปัจจัยสำคัญของการทำงาน ผู้ปฏิบัติราชการโดยอาศัยปัจจัยสามส่วนนี้โดยครบถ้วนสม่ำเสมอ จะประสบความสำเร็จและความเจริญรุ่งโรจน์ ทั้งจะทำให้ราชการและชาติบ้านเมืองพัฒนาก้าวหน้าไปได้ด้วยความมั่นคงสวัสดี ภูพิงคราชนิเวศน์ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2535