หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

ปรับปรุงล่าสุด 13/10/55 โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
การค้นข้อมูล 1. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุ่งล่าสุด 12/5/2009.
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน
Object-Oriented Analysis and Design
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสืบค้น ฐานข้อมูล กลุ่มงานบริการสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล
การเขียนรายงานการวิจัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (6) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
การเขียนรายงาน.
การใช้งานฐานข้อมูล Full Text โครงการให้บริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น (E-Journal) สำหรับกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย โดย.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
องค์ประกอบของบทละคร.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
เลขหมู่และการจัดเรียงบนชั้น
เว็บเพจ (Web Page).
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Matichon E-library ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
Knovel E-Books Database.
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
เสริมเว็บให้ดูสวย.
IngentaConnect.
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดย ชลทิชา นารอง สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วันที่ 7 ตุลาคม 2552

หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย หัวเรื่องที่กำหนดขึ้นแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ หัวเรื่องใหญ่และหัวเรื่องย่อย ข้อมูลจาก คณะทำงานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา. หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : คณะทำงาน กลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา, 2547 ประเภทของหัวเรื่อง 1. หัวเรื่องใหญ่ เป็นคำหรือวลีที่กำหนดให้ใช้ได้โดยลำพัง และอาจมีหัวเรื่องย่อยตามหลังเพื่อระบุขอบเขตเฉพาะของหัวเรื่องด้วยก็ได้ หัวเรื่องใหญ่บางหัวเรื่องมีคำขยายเพิ่มเติมในวงเล็บเพื่อแสดงความแตกต่างระหว่างหัวเรื่อง 2 หัวเรื่องที่สะกดเหมือนกันแต่มีความหมายต่างกัน ตัวอย่าง : เงาะ เงาะ (ชนพื้นเมือง) หัวเรื่องใหญ่บางหัวเรื่องกำหนดให้ใช้เป็นหัวเรื่องย่อยได้ด้วย เช่น การศึกษา ; จุลชีววิทยา

2. หัวเรื่องย่อย เป็นคำหรือวลีที่กำหนดขึ้นให้ใช้ตามหลังหัวเรื่องใหญ่ โดยมีขีดสั้น 2 ขีดคั่น เพื่อระบุขอบเขตเฉพาะของเนื้อหา วิธีเขียน ลำดับเหตุการณ์ และขอบเขตทางภูมิศาสตร์ สำหรับหัวเรื่องย่อยที่กำหนดขึ้นในเล่มนี้ ส่วนใหญ่เป็นหัวเรื่องย่อยที่ระบุขอบเขตเฉพาะของเนื้อหาและวิธีเขียน ตัวอย่าง : เกษตรกรรม -- แง่สังคม ภาษาอังกฤษ -- แบบฝึกหัด หัวเรื่องย่อยที่แสดงลำดับเหตุการณ์จะปรากฏภายใต้หัวเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์วรรณคดี และศิลปกรรม ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- -- กรุงสุโขทัย, 1800-1900 -- -- กรุงศรีอยุธยา, 1893-2310 ศิลปกรรมไทย -- สมัยเชียงแสน -- สมัยทวาราวดี

ไม่ใช่ พุทธศาสนา -- ราชอาณาจักรไทย อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- อินโดนีเซีย หัวเรื่องย่อยที่ใช้เป็นชื่อภูมิศาสตร์ ซึ่งได้แก่ชื่อที่ไม่ใช่ชื่อทางการของทวีป ภูมิภาค ประเทศ รัฐ เมือง และจังหวัด ผู้ใช้สามารถกำหนด ชื่อภูมิศาสตร์ขึ้นเองในกรณีที่หัวเรื่องใหญ่มีคำอธิบายระบุให้แบ่งตาม ชื่อภูมิศาสตร์ ตัวอย่าง : พุทธศาสนา -- ไทย ไม่ใช่ พุทธศาสนา -- ราชอาณาจักรไทย อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- อินโดนีเซีย ไม่ใช่ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สำหรับการใช้ชื่อรัฐ เมือง หรือจังหวัดเป็นหัวเรื่องย่อย จะต้องลงชื่อดังกล่าวตามหลังชื่อประเทศ พุทธศาสนา -- ไทย -- เชียงใหม่ ประเภทของหัวเรื่องใหญ่ และหัวเรื่องใหญ่ที่กำหนดให้เป็นแบบอย่างการใช้หัวเรื่องย่อยเพื่อระบุเนื้อหาเฉพาะ มีดังนี้ ประเภทหัวเรื่องใหญ่ที่กำหนดให้เป็นแบบอย่างการใช้หัวเรื่องย่อย กวี สุนทรภู่ ประเทศ ไทย พืช ข้าว ภาษา ภาษาไทย

3. คำอธิบายการใช้ เป็นคำที่บอกขอบเขตการใช้หัวเรื่องและ/หรือความหมายของหัวเรื่อง 4. รายการโยง เป็นรายการที่จัดทำขึ้นเพื่อช่วยในการพิจารณาเลือกหัวเรื่องที่ตรงหรือสัมพันธ์กับเนื้อหาของหนังสือที่ทำรายการ รายการโยงที่จัดทำมี 2 ประเภท ดังนี้ 4.1 รายการโยงจากคำที่ไม่ใช้เป็นหัวเรื่องไปยังหัวเรื่อง ตัวอักษรย่อที่ใช้เชื่อมโยงสำหรับการโยงประเภทนี้ คือ "USE" 4.2 รายการโยงภายใต้หัวเรื่อง ตัวอักษรย่อที่ใช้เชื่อมโยงสำหรับการโยงประเภทนี้ได้แก่ "UF" (Usc For) ใช้โยงคำที่ไม่ใช้เป็นหัวเรื่อง "BT" (Broader Term) ใช้โยงหัวเรื่องอื่นที่สัมพันธ์กันแต่มีเนื้อหา กว้างกว่า "RT" (Related Term) ใช้โยงหัวเรื่องอื่นที่สัมพันธ์กันและมีเนื้อหา เท่ากัน "SA" (See Also) ใช้โยงหัวเรื่องอื่นที่ขึ้นต้นคำเหมือนกัน "NT" (Narrow Term) ใช้โยงหัวเรื่องอื่นที่สัมพันธ์กันแต่มีเนื้อหา แคบกว่า

ตัวอย่าง : กสิกรรม USE เกษตรกรรม การเกษตร USE เกษตรกรรม เกษตรกรรม (Agriculture) [S1-790.3 ; 630] แบ่งตามชื่อภูมิศาสตร์ UF กสิกรรม การเกษตร BT วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ศิลปะอุตสาหกรรม RT การใช้ที่ดินในชนบท การผลิตอาหารของโลก SA คำที่ขึ้นต้นด้วย เกษตรกรรม NT กฎหมายเกษตรกรรม การเก็บเกี่ยว การคุ้มครองพันธุ์พืช การจัดการดิน