Pasture and Forage Crops Glossary

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower)
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Quick Index. การใช้หนังสือคู่มือดูนกภาคสนาม A Field Guide to the Birds Of Thailand โดย Robson (2002)
ความหลากหลายของสัตว์
การตอบสนองของพืช umaporn.
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
การเจริญเติบโตของพืช
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
Cell Specialization.
ลำต้น (Stem) ลำต้นเป็นส่วนที่ยืดตรงอยู่เหนือดิน โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นทรงกระบอกแนวตั้ง แต่ก็มีลำต้นบางชนิดอยู่ใต้ดิน บางชนิดทอดไปตามดิน (
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
การขยายพันธุ์เฟิน วสุ อมฤตสุทธิ์ วิชาหลักการขยายพันธ์พืช
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
หนอนพยาธิ (Helminth).
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
= enzyme By . Kanyakon Sroymano The prince Royal’s college.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
กระชาย กระชายเป็นพืชผักในวงศ์เดียวกับขิง มีเหง้าหรือโคนลาต้นจมอยู่ใต้ดิน มีรากเรียว ยาวอวบน้ำ และออกเป็นกระจุก ส่วนเหง้าและรากที่มัก เรียกกันว่า หัว จะมีกลิ่นจัดเฉพาะตัวเนื่องจากมีน้ำ.
ใบไม้.
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ประเภทและวิธีการ การขยายพันธุ์พืช ( PLANT PROPAGATION )
ดอกไม้ฤดูหนาว.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
Kingdom Plantae.
ด. ญ. กานต์สิริทองจีน เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เสนอ อ. อรอุมาพงศ์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร ไม้ดอกชนิดพุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Pasture and Forage Crops Glossary

Forage (พืชอาหารสัตว์) หมายถึง พืชใดๆ ที่สัตว์กินเป็นอาหาร

Pasture (ทุ่งหญ้าเลี้ยวสัตว์) หมายถึงพื้นที่ที่มีอาหารสัตว์ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นหญ้าหรือถั่วอาหารสัตว์

Stolon (ไหล) หมายถึง ลำต้นของหญ้าที่เจริญไปทางด้านข้างขนานไปบนพื้นดิน พร้อมกับรากสามัญ

Adventitious Roots (รากสามัญ) รากสามัญจะเจริญออกมาจากส่วนหัว ของพืช (ซึ่งเป็นลำต้นแบบพิเศษชนิดหนึ่ง)หรืออาจจะเจริญออกมาจากกิ่ง

Rhizome (เหง้าหรือแหง่ง) หมายถึงลำต้นของหญ้าที่เจริญไปทางด้านข้างอยู่ใต้พื้นดินพร้อมกับรากสามัญ

Stoloniferous หมายถึง พืชที่มีไหลแผ่ขยายไปบนพื้นดิน

Rhizomatous หมายถึง พืชที่มีไหลแผ่ขยายไปใต้พื้นดิน

Leaf blade (ตัวใบหรือแผ่นใบ หรือ Lamina) หมายถึง ส่วนแผ่นใบ มีรูปร่างคล้ายหอกยาวเรียว ปลายแหลม

Leaf sheath (กาบใบ) หมายถึง ส่วนกาบที่ห่อหุ้มลำต้นอยู่ติดกับลำต้นที่ส่วนของข้อ

Growing Point/Meristem (จุดกำเหนิดหรือจุดเจริญของพืช) หมายถึง บริเวณเนื้อเยื่อที่มีการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว

Apical meristem หมายถึง เนื้อเยื่อเจริญที่อยู่ส่วนปลายหรือยอด

Intercalary meristem เนื้อเยื่อเจริญที่อยู่ระหว่างกาบใบและตัวใบ หรือที่ข้อ (Node)

Inflorescence (ช่อดอก) หมายถึงกลุ่มของดอกที่อยู่บนแกน (Axis หรือ Rachis)

Ruminant (สัตว์เคี้ยวเอื้อง) หมายถึง สัตว์ที่มีการสำรอกอาหารที่กินเข้าไปแล้วกลับขึ้นมาเคี้ยวอีก

Rumination (การเคี้ยวเอื้อง) หมายถึง การที่สัตว์ขยอกอาหารที่กลืนเข้าไปแล้วออกมาคี้ยวใหม่

Rumen (กระเพาะผ้าขี้ริ้ว) หมายถึง ชื่อของกระเพาะชนิดหนึ่งของสัตว์กระเพาะรวม สัตว์กระเพาะรวมมี 4 กระเพาะคือ 1. Rumen 2.Reticulum 3.Omasum 4.Abomasum