การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
Advertisements

ศักยภาพของคนไทยในการผลิตและวิจัยวัคซีนใหม่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
รายงาน เรื่อง โรคเลือดออกตามไรฟัน จัดทำโดย ด.ช. ทรงยศ แจ่มวัย เลขที่ 16 ม.1/5 ด.ช. กัมปนาท สิหงศิวานนท์
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ศ. พิเศษ ภญ. ดร. สุมนา ขมวิลัย
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคติดเชื้ออะมีบา บิดมีตัว พาหะ - แมลงวัน
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
วัคซีน ( vaccine ) วัคซีนหมายถึง immunogen ที่เป็นอนุภาคหรือเซลล์ของเชื้อโรคซึ่งที่ทำให้ตายหรือมีความรุนแรงของโรคลดน้อยลงแล้วนำเข้าสู่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์เพื่อกระตุ้นให้สร้าง.
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
การตั้งค่าวัคซีน.
มติที่เสนอและได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ ใน การประชุมครั้งที่ 1/2552 วันที่ 13 สิงหาคม 2552.
“การขยายโรงงานผลิตวัคซีนวัณโรค สู่มาตรฐานสากล”
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
โรคคอตีบ (Diphtheria)
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
การให้วัคซีนพิษสุนัขบ้าในเวชปฏิบัติ
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
1.หญิง50ปี มีโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ประจำตัว มาฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ตามหนังสือ เชิญ ซักประวัติตรวจร่างกาย และฉีดวัคซีนให้ Z25.1.
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
วัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
แนวทางการรณรงค์ให้วัคซีน dT ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
Tonsillits Pharynngitis
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
Direction of EPI vaccine in AEC era
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค อ.รัตนา ปรากฏมาก อ. กรวรรณ ผมทอง

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค  …..Passive Immunization Passive Immunization ……Active Immunization Active Immunization

ชนิดของวัคซีน Text in here Text in here Text in here ท็อกซอยด์ ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ ชนิดเชื้อตาย

วัคซีนพื้นฐาน EPI ( Expanded Program onImmunization, EPI)

วัคซีนพื้นฐาน 1. วัคซีน BCG (Bacillus Calmette-Guérin หรือ Bacille Calmette-Guérin vaccine) หมายถึง วัคซีนป้องกันวัณโรค (tuberculosis) 2. วัคซีน HB (Hepatitis B vaccine) หมายถึง วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบชนิด บี

วัคซีนพื้นฐาน 3. วัคซีน DTP (Diptheria, Tetanus, Pertussis vaccine) หมายถึง วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน รวมกันอยู่ในเข็มเดียว * DTP-HB หมายถึง วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบชนิด บี รวมอยู่ในเข็มเดียวกัน * dT วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก โดยใช้สำหรับป้องกันบาดทะยักในผู้ใหญ่เป็นหลัก และมีจำนวนวัคซีนป้องกันโรคคอตีบน้อยกว่าสำหรับเด็กเล็ก

วัคซีนพื้นฐาน 4. วัคซีน OPV (Oral Polio vaccine) หมายถึง วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ชนิดหยอด (ให้ทางปาก (oral) 5. วัคซีน MMR (Mump, Measle, Rubella vaccine) หมายถึง วัคซีนป้องกันโรคคางทูม หัด หัดเยอรมัน รวมกันอยู่ในเข็มเดียว 6. วัคซีน JE (Japanese encephalitis vaccine) หมายถึง วัคซีนป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ Japanese encephalitis

กำหนดการให้วัคซีนแก่เด็ก ตามแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข กรณีเริ่มให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือภายในขวบปีแรก หมายเหตุ 1. วัคซีนทุกชนิดถ้าไม่สามารถเริ่มให้ตามกำหนดได้ ก็เริ่มทันทีที่พบครั้งแรก 2. วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า 1 ครั้ง หากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบางแล้ว และไม่มารับครั้งต่อไปตามกำหนดนัด ให้ฉีดวัคซีนครั้งต่อไปนั้นได้ทันทีเมื่อพบเด็ก โดยไม่ต้องเริ่มต้นครั้งที่ 1 ใหม่ * หากมีหลักฐานบันทึกว่าเคยได้รับ BCG มาก่อน ไม่จำเป็นต้องให้ซ้ำ แม้จะไม่มีแผลเป็น

วิธีการบริหารวัคซีน M1 M2 M3 ส่วนเด็กโตและผู้ใหญ่ควรฉีดที่ต้นแขน การจัดท่าฉีดวัคซีนบริเวณต้นขาใน เด็กเล็ก การฉีดวัคซีนเข้าใต้หนัง(เข็มทำมุม 45 องศา)บริเวณ ต้นแขนในเด็กโตและผู้ใหญ่ M1 M2 M3 ส่วนเด็กโตและผู้ใหญ่ควรฉีดที่ต้นแขน

ข้อแนะนำในการให้วัคซีน ผู้ป่วยที่มีไข้ ควรเลื่อนการฉีดวัคซีน โดยเฉพาะวัคซีนที่อาจทำให้เกิดไข้ แต่ถ้าเจ็บป่วยเล็กน้อย เช่น เป็นหวัด ให้วัคซีนได้ ถ้าผู้ป่วยได้รับเลือดหรือผลิตภัณฑ์จากเลือดมาก่อนควรเลื่อนการให้วัคซีนออกไป นานเท่าไรขึ้นกับจำนวนเลือดหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 3 เดือน ถ้าเด็กชักจากไข้สูง ควรให้ยาลดไข้

Thank You!