ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การสร้างแรงจูงใจในชีวิต ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
MK201 Principles of Marketing
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
Social Media กับการศึกษา
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
สภานิสิต: บทบาทและทิศทางในอนาคต
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
การใช้เวลาว่างและนันทนาการ
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
กิจกรรมจิตอาสาโรงพยาบาลลำปาง
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การพัฒนากระบวนการคิด
“Backward” Unit Design?
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การพัฒนาสายอาชีพพนักงาน
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
หนังสือเรียน รายวิชา ขนมไทย วิชา ขนมไทย
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล (ชุดที่ 2)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
L o g o บ ท ที่ 8 การเป็นนัก แปล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ.
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ชื่อสมาชิก น.ส.วิไลพร ยะใจมั่น เลขที่ 4 ชั้น 4.12
เทคนิคการให้คำปรึกษา
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
การพัฒนาตนเอง.
ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการพัฒนานวัตกรรม
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
 ผู้ฟังในกลุ่มมีจำนวนทั้งสิ้นเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลเพศหญิงหรือเพศ ชาย วัยใด ในสัดส่วนเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลที่มาจากกลุ่ม สังคมหรือกลุ่มอาชีพประเภทใด.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสร้างสายสัมพันธ์ (Establishing Rapport)
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ทฤษฎีทางอาชีพ  ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory)  ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์ (Holland’s Theory of Vocational Choice)  ทฤษฎีการเลือกอาชีพของโรว์ (Roe’s Theory)  ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory)  ทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของซูเปอร์ (Super’s Theory of Vocational Development)  ทฤษฎีของไทด์แมน และ โอฮารา (Tiedman and O’Hara Theory of Career Development) 2

ทฤษฎีทางอาชีพ 1. กลุ่มที่มุ่งความ ต้องการทาง จิตวิทยา Hoppock’s Composite Theory Holland’s Theory of Vocational Choice Roe’s Theory 2. กลุ่มที่มุ่งทาง พัฒนาการของ อัตตา Ginzberg and Associates’ Theory Super’s Theory of Vocational Development Tiedman and O’Hara Theory of Career Development

 ทฤษฎีความต้องการของฮอพ พอค  (Hoppock’s Composite Theory) 1. คนเราเลือกอาชีพเพื่อ สนองความต้องการ 2. อาชีพที่เราเลือกสามารถตอบสนอง ความต้องการที่สูงสุดของเราได้ 4

3. ความต้องการที่เกิดขึ้นนี้ อาจ ชัดเจนในบุคคลบางคน แต่อาจ คลุมเครือในคนบางคน แต่มันจะมี อิทธิพลต่อการเลือกอาชีพของเรา ทั้งสิ้น

4. พัฒนาการทางอาชีพเริ่มจากจุดที่ บุคคลเริ่มตระหนักว่า มีอาชีพบางชนิด ที่จะทำให้เขาได้รับความพึงพอใจ และสามารถตอบสนองความต้องการ ของเขาได้

5. สิ่งที่จะเป็นเครื่องแสดงว่า เรามีการ พัฒนาทางการเลือกอาชีพมากขึ้น หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับว่า เราเข้าใจว่า การเลือกอาชีพของเราได้ตอบสนอง ความต้องการของตนเองเพียงใด

6. การเข้าใจตนเองจะทำให้เราได้รู้ถึงสิ่งที่ เราต้องการ และรู้ว่าเรามีอะไรจะไป แลกเปลี่ยนกับสิ่งที่ต้องการนั้น 8

7. ความรู้เกี่ยวกับอาชีพก็มีส่วนสำคัญใน การตัดสินใจเลือกอาชีพของเรา คือ เรา ได้ตระหนักว่า อาชีพนั้นๆ สนองตอบ ความต้องการของเราหรือไม่ เราจะได้ อะไรจากการประกอบอาชีพนั้น และเรา ต้องให้อะไรแก่อาชีพนั้นๆ บ้าง

8. ความพึงพอใจในอาชีพเกิดจากการได้ ประกอบอาชีพที่ตรงกับความต้องการ ของเรา

9. ความพึงพอใจจากการทำงาน มิได้ หมายถึงเฉพาะสิ่งที่บุคคลได้รับใน ปัจจุบันเท่านั้น อาจเป็นสิ่งที่เขาคาดหวัง ในอนาคตที่ดีกว่า 11

10. คนเราเมื่อเลือกอาชีพแล้ว สามารถ เปลี่ยนแปลงได้เสมอ ถ้าเขารู้สึกว่าการ เปลี่ยนแปลงจะทำให้เขาได้รับการ ตอบสนองที่ดีกว่างานเก่า

ซักถาม - อภิปราย