ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทฤษฎีทางอาชีพ ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์ (Holland’s Theory of Vocational Choice) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของโรว์ (Roe’s Theory) ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory) ทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของซูเปอร์ (Super’s Theory of Vocational Development) ทฤษฎีของไทด์แมน และ โอฮารา (Tiedman and O’Hara Theory of Career Development) 2
ทฤษฎีทางอาชีพ 1. กลุ่มที่มุ่งความ ต้องการทาง จิตวิทยา Hoppock’s Composite Theory Holland’s Theory of Vocational Choice Roe’s Theory 2. กลุ่มที่มุ่งทาง พัฒนาการของ อัตตา Ginzberg and Associates’ Theory Super’s Theory of Vocational Development Tiedman and O’Hara Theory of Career Development
ทฤษฎีความต้องการของฮอพ พอค (Hoppock’s Composite Theory) 1. คนเราเลือกอาชีพเพื่อ สนองความต้องการ 2. อาชีพที่เราเลือกสามารถตอบสนอง ความต้องการที่สูงสุดของเราได้ 4
3. ความต้องการที่เกิดขึ้นนี้ อาจ ชัดเจนในบุคคลบางคน แต่อาจ คลุมเครือในคนบางคน แต่มันจะมี อิทธิพลต่อการเลือกอาชีพของเรา ทั้งสิ้น
4. พัฒนาการทางอาชีพเริ่มจากจุดที่ บุคคลเริ่มตระหนักว่า มีอาชีพบางชนิด ที่จะทำให้เขาได้รับความพึงพอใจ และสามารถตอบสนองความต้องการ ของเขาได้
5. สิ่งที่จะเป็นเครื่องแสดงว่า เรามีการ พัฒนาทางการเลือกอาชีพมากขึ้น หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับว่า เราเข้าใจว่า การเลือกอาชีพของเราได้ตอบสนอง ความต้องการของตนเองเพียงใด
6. การเข้าใจตนเองจะทำให้เราได้รู้ถึงสิ่งที่ เราต้องการ และรู้ว่าเรามีอะไรจะไป แลกเปลี่ยนกับสิ่งที่ต้องการนั้น 8
7. ความรู้เกี่ยวกับอาชีพก็มีส่วนสำคัญใน การตัดสินใจเลือกอาชีพของเรา คือ เรา ได้ตระหนักว่า อาชีพนั้นๆ สนองตอบ ความต้องการของเราหรือไม่ เราจะได้ อะไรจากการประกอบอาชีพนั้น และเรา ต้องให้อะไรแก่อาชีพนั้นๆ บ้าง
8. ความพึงพอใจในอาชีพเกิดจากการได้ ประกอบอาชีพที่ตรงกับความต้องการ ของเรา
9. ความพึงพอใจจากการทำงาน มิได้ หมายถึงเฉพาะสิ่งที่บุคคลได้รับใน ปัจจุบันเท่านั้น อาจเป็นสิ่งที่เขาคาดหวัง ในอนาคตที่ดีกว่า 11
10. คนเราเมื่อเลือกอาชีพแล้ว สามารถ เปลี่ยนแปลงได้เสมอ ถ้าเขารู้สึกว่าการ เปลี่ยนแปลงจะทำให้เขาได้รับการ ตอบสนองที่ดีกว่างานเก่า
ซักถาม - อภิปราย