การเรียนรู้โดยใช้วิจัยวิจัยเป็นฐาน Research BaseD Learning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การปลูกพืชผักสวนครัว
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แนะนำวิทยากร.
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
รูปแบบการสอน.
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนรู้โดยใช้วิจัยวิจัยเป็นฐาน Research BaseD Learning รศ.ดร คงศักดิ์ ธาตุทอง & รศ.ดร งามนิตย์ ธาตุทอง การสัมมนาคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ระหว่างวันที่ ๒๙-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมยูนิโก้ แกรนด์ แซนดารา ชะอำ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

กิจกรรมสำรวจตนเอง 1. วิชาที่ท่านสอนคือ กรุณาบอกมา (1 วิชา) 2. วิชาดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายในการสอนอย่างไร 3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของวิชา/หลักสูตร คืออะไร 4. ท่านเตรียมการสอนเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังกล่าวอย่างไร 5. ท่านแน่ใจมากน้อยเพียงใดว่าผู้เรียนบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้

-

ในการวางแผนท่านคิดถึงสิ่งต่อไปนี้หรือไม่ จะจัดการเรียนรู้อย่างไร ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ การเรียนรู้ที่ดีต้องทำอย่างไร แล้วแผนการเรียนรู้ที่ดีเป็นอย่างไร

การปฏิรูปการศึกษา Learner-centered หรือ Student-centered ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ และพัฒนาความสามารถได้ตามธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพของตนเอง สนับสนุนให้มีการฝึกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทำงาน มีการเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคม ได้เรียนรู้จากหลายๆ สถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ไม่เน้นไปที่การท่องจำเพียงเนื้อหา ผู้เรียนจึงมีอิสระในการเรียนมากขึ้น

การเรียนที่ใช้การวิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning หรือ RBL) การศึกษาเปลี่ยนมาให้ความสำคัญกับ “การเรียน” มากกว่า “การสอน” จากหลักการและแนวคิดดังกล่าว นักการศึกษาจึงได้พัฒนาแนวทางในการจัดกิจกรรมที่เอื้อประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้เรียน การเรียนที่ใช้การวิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning หรือ RBL)

RBL ทักษะกระบวนการค้นคว้า พัฒนาการคิดวิเคราะห์และ บูรณาการเนื้อหาความรู้ RBL การแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบระเบียบ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้หรือข้อค้นพบใหม่ การพัฒนาให้ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในหมวด 4 มาตรา 24 (5) ว่า “ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้” (สำนักงานปฏิรูปการศึกษา, 2545)

การเรียนที่ใช้การวิจัยเป็นฐานถือ เป็นการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้น กระบวนการวิจัยไม่ได้เกี่ยวข้องเฉพาะกับอาจารย์ผู้สอนเท่านั้น แต่ผู้เรียนก็ต้องเกี่ยวข้องด้วย ผู้เรียนในยุคปฏิรูปการศึกษาควรมีทักษะกระบวนการเรียนรู้ที่เป็นระบบและยั่งยืน สามารถนำเอากระบวนการวิจัยไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง

การจัดการเรียนรู้แบบใช้การวิจัยเป็นฐาน การสอนแบบเน้นการวิจัย   การสอนแบบเน้นการวิจัย การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัย การสอนแบบวิจัย การเรียนการสอนที่มีการวิจัยเป็นฐาน

เป็นเครื่องมือของการเรียนรู้ได้ จรัส สุวรรณเวลา (2545) ‘การศึกษาที่มีการวิจัยเป็นฐาน’ เครื่องมือการเรียนรู้ การวิจัย - สามารถสร้างคุณลักษณะหลายอย่างที่ การศึกษาต้องการได้ - สามารถปรับเปลี่ยนบุคคลให้ตั้งอยู่บน ฐานข้อมูลและเหตุผล มีวิจารณญาณ วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์และเกิดนวัตกรรมได้ ขั้นตอนของการวิจัย - การเข้าถึงความรู้ การประเมินความเชื่อถือได้ ของความรู้ การตีค่า ความอิสระทางความคิดและ เป็นตัวของตัวเอง จึงสามารถนำมาใช้ เป็นเครื่องมือของการเรียนรู้ได้  

โดยอาศัยพื้นฐานกระบวนการวิจัย สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ และทัศนีย์ บุญเติม (2547) การสอนเนื้อหาวิชา เรื่องราว กระบวนการ ทักษะและอื่นๆ โดยใช้รูปแบบการสอนชนิดที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เนื้อหาหรือสิ่งต่างๆ ที่ต้องการสอนนั้น โดยอาศัยพื้นฐานกระบวนการวิจัย

การสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ดังนี้ RBL คือ การนำกระบวนการวิจัยหรือผลการวิจัยมา เป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้หรือ นำเอากระบวนการวิจัยมาเป็นเครื่องมือใน การแสวงหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา ทักษะกระบวนการวิจัยและ การศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง โดยผู้สอนหรือครูใช้วิธีการสอนที่ หลากหลายอันนำไปสู่.. การสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน

‘เรียนรู้โดยการฟัง/ตอบให้ถูก’ เป็น ‘การถาม/หาคำตอบเอง’ ลักษณะของการจัดการศึกษาแบบ RBL มีดังนี้ - เปลี่ยนแนวคิดพื้นฐานจาก ‘เรียนรู้โดยการฟัง/ตอบให้ถูก’ เป็น ‘การถาม/หาคำตอบเอง’ - เปลี่ยนเป้าหมายจาก ‘การเรียนรู้โดยการจำ/ทำ/ใช้’ เป็น ‘การคิด/ค้น/แสวงหา’ - เปลี่ยนวิธีสอนจาก ‘การเรียนรู้โดยการบรรยาย’ เป็น ‘การให้คำปรึกษา’ - เปลี่ยนบทบาทผู้สอนจาก ‘การเป็นผู้ปฏิบัติเอง’ เป็น ‘การจัดการให้ผู้เรียน’ (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2547)

รูปแบบการจัดการเรียนรู้ RBL นำผลงานวิจัยมาบรรยายให้ผู้เรียนฟัง เพื่อให้ ผู้เรียน จำ ทำ ใช้ ในการตอบคำถามที่มีอยู่แล้ว 2. นำผลงานวิจัยของผู้สอนเองหรือคนอื่น มาอภิปราย เพื่อหาความรู้และข้อมูลใหม่ๆ ครูจะใช้คำถามมากขึ้น 3. แนะนำให้ผู้เรียนฝึกทำการวิจัย เพื่อหาความรู้ใหม่มากขึ้น 4. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า ตั้งคำถามวิจัยออกแบบการวิจัยเอง ผู้สอนเป็นเพียงผู้จัดการและให้คำปรึกษา

การเรียนรู้โดยการให้กระบวนการวิจัย รูปแบบ ประเด็น 1 2 3 4 แนวคิดพื้นฐาน คำตอบ ฟัง คำถาม หาเอง เป้าหมาย จำ ทำ ใช้ ข้อมูล/ปัญหา แสงหา/ติดตาม/ ผลการสอน คิด ค้น แสวงหา วิธีสอน บรรยาย นำอภิปราย แนะนำ ให้คำปรึกษา บทบาทอาจารย์ ผู้ปฏิบัติ ผู้จัดการ

1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย สมหวัง พิธิยานุวัฒน์และทัศนีย์ บุญเติม (2540) ได้เสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐานไว้ 4 รูปแบบ 1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย การให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติทำวิจัยในระดับต่างๆ การทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ การศึกษารายกรณี (Case Study) การทำโครงงาน การทำวิจัยเอกสาร การทำวิจัยฉบับจิ๋ว (Baby Research) การทำวิทยานิพนธ์ เป็นต้น

2. การสอนโดย ให้ผู้เรียนร่วมทำโครงการวิจัยกับอาจารย์หรือเป็นผู้ช่วยในโครงการวิจัย ในกรณีนี้ผู้สอนต้องเตรียมโครงการวิจัยไว้รองรับเพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ทำวิจัย เช่น ร่วมเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล อย่างไรก็ตามวิธีนี้จะมีข้อเสียที่ผู้เรียนไม่ได้เรียนรู้กระบวนการทำวิจัยครบถ้วนทุกขั้นตอน

ให้ผู้เรียนศึกษางานวิจัย เพื่อเรียนรู้องค์ความรู้ 3. การสอนโดย ให้ผู้เรียนศึกษางานวิจัย เพื่อเรียนรู้องค์ความรู้ หลักการและทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัยเรื่องนั้นๆ วิธีการตั้งโจทย์ปัญหา วิธีการแก้ปัญหา ผลการวิจัย การนำผลการวิจัยไปใช้และศึกษาต่อไป ทำให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการทำวิจัยมากขึ้น

4. การสอนโดย ใช้ผลการวิจัยประกอบการสอน เป็นการให้ผู้เรียนได้รับรู้ว่า ทฤษฎีข้อความรู้ใหม่ๆ ในศาสตร์ของตนในปัจจุบันเป็นอย่างไร นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างศรัทธาต่อผู้สอนรวมทั้งทำให้ผู้สอนไม่เกิดความเบื่อหน่ายที่ต้องสอนเนื้อหาเดิมๆ ทุกปี

สรุป RBL คือ – เปลี่ยนรูปแบบจาก Teaching-Based เป็น Learning-Based – เปลี่ยนลักษณะการเรียนจาก Passive เป็น Active – เปลี่ยนจาก วิชาเป็นปัญญา – นักศึกษาได้เรียนรู้ (Learning) มากกว่าการรู้ (Knowing) – ได้เปลี่ยนแปลงนักศึกษา ให้ใช้งานวิจัยเป็นวิถีของการเรียนรู้

ประโยชน์ของการจัดเรียนการสอนที่มีการวิจัยเป็นฐาน ผู้เรียนเกิดทักษะการใช้การวิจัย ในการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ทฤษฎี แนวคิด หลักการและ ข้อค้นพบที่มีความหมายมีความเที่ยงตรง รู้จักวิเคราะห์ปัญหา การวางแผนการแก้ปัญหาหรือ การพัฒนา เก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผล นำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้

ผู้เรียนมีโอกาสได้รับการพัฒนา ทักษะการคิด (Thinking Skills) ทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving and Resolution Skills) ทักษะการบริหารจัดการเวลา (Time Management Skills) ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) ทักษะประมวลผล (Computer Skills) ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning Skills)

“จุดเน้นของชีวิตมืออาชีพในศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด. " สำหรับผู้เรียนที่จะเป็นมืออาชีพในอนาคต มี การพัฒนาความสามารถในการตรวจสอบปัญหาที่เกิดขึ้น การตัดสินใจบนพื้นฐานของหลักฐานที่พอเพียงถูกต้อง การตัดสินใจบนพื้นฐานที่มีเหตุผลและเข้าใจในสิ่งที่กำลังทำและความสำคัญของสิ่งที่ทำ การวิจัยและการสืบเสาะหาความรู้ไม่ได้เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับผู้ที่จะเลือกอาชีพนักวิชาการ แต่สิ่งเหล่านี้เป็น “จุดเน้นของชีวิตมืออาชีพในศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด. "

"ทักษะในศตวรรษที่ 21” ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน การคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับงาน ความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับผู้คนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมด้วยเทคนิคที่แตกต่างกัน มีความสามารถในการทำงานร่วมกับคนอื่น สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

ประโยชน์ต่อครู ทำให้ครูมีการวางแผนทำงานในหน้าที่ของตนอย่างเป็นระบบ ได้แก่ วางแผนการสอน ออกแบบกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ประเมินผลการทำงานเป็นระยะโดยมีเป้าหมายชัดเจนว่าจะทำอะไรเมื่อไร เพราะอะไร และ ทำให้ทราบผลการกระทำว่าบรรลุเป้าหมายได้อย่างไร

การศึกษา ผลของการจัดเรียนการสอนที่มีการวิจัยเป็นฐาน สามารถนำมาเป็นข้อมูลในการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ของครู เกี่ยวกับวิธีการจัดการการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนที่ครูแต่ละคน สามารถจะประยุกต์และ นำรูแต่ละคนไปใช้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูอย่างต่อเนื่อง

(students learn to do research) Research-oriented teaching (students learn to do research) Research-based teaching (students learn in Inquiry-based mode)

STUDENTS AS PARTICIPANTS Research-tutored Research-based EMPHASIS ON RESEARCH PROCESSES AND PROBLEMS EMPHASIS ON RESEARCH CONTENT Research-led Research-oriented STUDENTS AS AUDIENCE

Project based learning วิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบที่ผู้เรียนมีส่วนในในการแสวงหาความรู้และทักษะ ผ่านกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทีมีการกำหนดโครงสร้างที่ซับซ้อนของคำถามที่เกี่ยวข้อง มีการ ออกแบบผลิตผล และงานที่แท้จริงอย่างระมัดระวัง Students learn more deeply when they can apply classroom-gathered knowledge to real-world problems, and when they take part in projects that require sustained engagement and collaboration. Active-learning practices have a more significant impact on student performance than any other variable, including student background and prior achievement. Students are most successful when they are taught how to learn as well as what to learn. From Introduction to Project Based Learning Handbook, Buck Institute for Education.

ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในเรื่องที่ซับซ้อน ประเด็นที่แท้จริงของโลกและปัญหา ถ้าเป็นไปได้นักเรียนเลือกและกำหนดประเด็นหรือปัญหา ที่มีความหมายกับพวกเขา

2)ผู้เรียนต้องใช้กระบวนการค้นคว้า วิจัย ทักษะการวางแผน การคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะการแก้ปัญหา เพื่อความสำเร็จของโครงการ

3)ผู้เรียนต้องเรียนรู้และประยุกต์ใช้เนื้อหาเฉพาะทักษะ / มาตรฐานและความรู้ในหลากหลายบริบทที่ผู้เรียนทำโครงการ

4) ให้โอกาสผู้เรียนในการเรียนรู้และฝึกทักษะในการสื่อสารความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมทีมทำงาน และเมื่อใดก็ตามที่เป็นไปได้ให้ผู้เรียนมีโอกาสร่วมทำงานกับบุคคลอื่นในสถานที่ทำงานหรือชุมชน

5) ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติในการใช้ทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตและการทำงานในอาชีพ (วิธีการจัดสรรเวลา / ทรัพยากร ความรับผิดชอบของแต่ละคน ทักษะคนด้านความสัมพันธ์ การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ฯลฯ )

6) มีการกำหนดความคาดหวังเกี่ยวกับความสำเร็จของโครงการ / ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สิ่งเหล่านี้มีการเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้และประสิทธิผลของโรงเรียนทีมีการระบุไว้ที่จุดเริ่มต้นของโครงการ

7) มีกิจกรรมการสะท้อนผลให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้เรียนและมี การเชื่อมโยงประสบการณ์เหล่านั้นกับมาตรฐานการเรียนรู้ที่เฉพาะเจาะจง

8) จบโครงการแล้วต้องมีการนำเสนอผลงานหรือผลิตผลที่แสดงให้เห็นถึงการเรียนรู้ และ มีการประเมินผลงาน ส่วน เกณฑ์ที่ใช้อาจกำหนดโดยผู้เรียน

Thank you very much