Welcome to .. Predator’s Section

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
กีฎวิทยาและการควบคุม
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
การป้องกันกำจัดหอยทาก
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
วิธีหมัก หมัก 3 วัน เติมออกซิเจน.
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ด้วงกว่าง.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
ดอกไม้ฤดูหนาว.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Welcome to .. Predator’s Section บรรจง ศิริชุมพันธ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น

แมลงห้ำ (predator) - แมลงที่กินแมลงชนิดอื่นๆเป็นอาหาร - ตลอดวงจรชีวิต กินเหยื่อได้หลายตัว - มักจะมีขนาดใหญ่กว่าเหยื่อ

แมลงห้ำ มวนตัวห้ำ  มวนพิฆาต  มวนเพชฌฆาต แมลงช้างปีกใส แมลงหางหนีบ

มวนตัวห้ำ มวนพิฆาต Stink bug มวนเพชฌฆาตAssassin bug Sycanus collaris Eocanthecona furcellata Sycanus collaris

มวนตัวห้ำ ประโยชน์ ควบคุมหนอนผีเสื้อศัตรูพืชเกือบทุกชนิด เช่น หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนคืบฝ้าย หนอนม้วนใบ หนอนคืบกะหล่ำ หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก หนอนหัวกะโหลก หนอนคืบละหุ่ง ฯลฯ

มวนพิฆาต ระยะไข่ เป็นกลุ่ม ทรงกลม สีเทา เมื่อใกล้ฟักจะเป็นสีเหลืองส้ม เป็นกลุ่ม ทรงกลม สีเทา เมื่อใกล้ฟักจะเป็นสีเหลืองส้ม จำนวน 8-70 ฟอง (เฉลี่ย 42) อายุไข่ 5-7 วัน

มวนพิฆาต ระยะตัวอ่อน - มี 5 วัย สีแดงสลับดำ อายุ ~ 18-22 วัน

มวนพิฆาต ระยะตัวเต็มวัย ขนาดลำตัว 1 - 1.5 ซม. บ่าทั้งสองข้างมีลักษณะเป็นหนามแหลมยื่นออกมา อายุประมาณ 20-30 วัน วงจรชีวิต จากไข่จนถึงสิ้นอายุขัย ประมาณ 1 ½ - 2 เดือน

วงจรชีวิต 5-7 วัน 18-22 วัน 20-30 วัน

ระยะไข่ กลุ่มสีเหลือง ทรงยาวรี กลุ่มละ 20-230 ฟอง (เฉลี่ย 70 ฟอง) มวนเพชฌฆาต ระยะไข่ กลุ่มสีเหลือง ทรงยาวรี กลุ่มละ 20-230 ฟอง (เฉลี่ย 70 ฟอง) อายุไข่ 7-10 วัน

ระยะตัวอ่อน รูปร่างคล้ายมด ตัวสีส้มแดง มวนเพชฌฆาต ระยะตัวอ่อน รูปร่างคล้ายมด ตัวสีส้มแดง ก่อนจะเข้าสู่ตัวเต็มวัย จะมีขอบของส่วนท้องด้านข้างยื่นขยายออกมาเหนือปีก อายุเฉลี่ย 48 วัน

ตัวอ่อน มวน เพชฌฆาต

ระยะตัวเต็มวัย ลำตัว 2-2.5 ซม. อายุ ~ 30 วัน มวนเพชฌฆาต ระยะตัวเต็มวัย ลำตัว 2-2.5 ซม. อายุ ~ 30 วัน วงจรชีวิต - จากไข่จนถึงสิ้นอายุขัย ประมาณ 3 เดือน

ลักษณะการเข้าทำลายหนอน ใช้ปากแทงลงบนตัวหนอน ปล่อยสารพิษ ทำให้หนอนเป็นอัมพาต ดูดกินของเหลวในตัวหนอนจนหมด หนอนจะแห้งเหี่ยวเหลือแต่ผนังลำตัว

ก่อนปล่อย ให้สำรวจปริมาณศัตรูพืชในแปลงก่อน อัตราการปล่อย ก่อนปล่อย ให้สำรวจปริมาณศัตรูพืชในแปลงก่อน - พบหนอนในแปลงน้อย (1-2 ตัว/จุด) ปล่อยมวน 100 ตัว/ไร่ (ไม้ผล 100 ตัว/ต้น ) - พบหนอนในปริมาณสูง ปล่อยมวน 2,000 ตัว/ไร่ (ไม้ผลปล่อย 2,000 ตัว/ต้น)

NEXT

แมลงช้างปีกใส (Green Lacewings) Chrysopa basalis หรือ Mallada basalis

แมลงช้างปีกใส ประโยชน์ - เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย(ตัวอ่อน) เพลี้ยไฟ ไรแดง แมลงหวี่ขาว - ไข่และตัวหนอน วัย 1-2 ของหนอนผีเสื้อ หลายชนิด เช่น หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนม้วนใบ หนอนชอนใบส้ม เป็นต้น

ลักษณะการเจริญเติบโต ไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ ตัวเต็มวัย

วงจรชีวิต แมลงช้างปีกใส 14 วัน 3-5 วัน 1 เดือน 7-10 วัน

ระยะไข่ - ทรงรี สีเขียวอ่อน ติดอยู่ที่ปลายก้าน - อายุไข่ 3 - 5 วัน แมลงช้างปีกใส ระยะไข่ - ทรงรี สีเขียวอ่อน ติดอยู่ที่ปลายก้าน - อายุไข่ 3 - 5 วัน

ไข่แมลงช้างปีกใส

ระยะตัวอ่อน รูปร่างคล้ายลูกจระเข้ สีน้ำตาลอ่อน ขนาด 0.8–1.0 ซม. แมลงช้างปีกใส ระยะตัวอ่อน รูปร่างคล้ายลูกจระเข้ สีน้ำตาลอ่อน ขนาด 0.8–1.0 ซม. อายุ ประมาณ 14 วัน

แมลงช้างปีกใส

แมลงช้างปีกใส ระยะดักแด้ - ทรงกลม สีขาวปนเทา ขนาดใกล้เคียงกับเมล็ดข้าวฟ่าง อายุ 7 – 10 วัน

ระยะตัวเต็มวัย สีเขียวอ่อน ปีกบางโปร่งฉลุคล้ายลูกไม้ สีเขียว แมลงช้างปีกใส ระยะตัวเต็มวัย สีเขียวอ่อน ปีกบางโปร่งฉลุคล้ายลูกไม้ สีเขียว ลำตัวเรียว ยาวประมาณ 1.0 – 1.8 ซม. อายุประมาณ 1 เดือน

แมลงช้างปีกใส

ลักษณะการทำลายศัตรูพืช เป็นตัวห้ำเฉพาะระยะที่เป็นตัวอ่อน กินทั้งไข่และตัวอ่อนของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด >>> เพลี้ยอ่อน เมื่อกินเหยื่อแล้วจะเอาซากของเหยื่อไว้บนหลัง ตัวเต็มวัยกินน้ำหวาน

ก่อนปล่อย ให้สำรวจปริมาณศัตรูพืชในแปลงก่อน อัตราการปล่อย ก่อนปล่อย ให้สำรวจปริมาณศัตรูพืชในแปลงก่อน - พบหนอนในแปลงน้อย (1-2 ตัว/จุด) ปล่อยมวน 100 ตัว/ไร่ (ไม้ผล 100 ตัว/ต้น ) - พบหนอนในปริมาณสูง ปล่อยมวน 2,000 ตัว/ไร่ (ไม้ผล 2,000 ตัว/ต้น)

NEXT

แมลงหางหนีบ (Earwigs) ชอบอาศัยตามที่มืดและชื้น หากินกลางคืน

แมลงหางหนีบ ประโยชน์ กินไข่และหนอนขนาดเล็ก ของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด เช่น หนอนเจาะลำต้นและยอดอ้อย หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนกระทู้ข้าวโพด หนอนเจาะสมอฝ้าย เพลี้ยอ่อน ไข่และตัวหนอนของด้วงกุหลาบ

ชนิดสีน้ำตาลProreus simulans แมลงหางหนีบ ชนิดสีดำ Euborellia sp. ชนิดสีน้ำตาลProreus simulans

ชนิดสีดำ ชนิดสีน้ำตาล ถิ่นอาศัย สีลำตัว ปีก แพนหาง แปลงอ้อย สีดำ ไม่มีปีก เรียบ แปลงข้าวโพด สีน้ำตาล มีปีก เพศผู้ มีติ่งที่หาง

ลักษณะการเจริญเติบโต ไข่ ตัวเต็มวัย ตัวอ่อน

ระยะไข่ ทรงกลม ผิวเรียบ สีขาวนวล วางไข่เป็นกลุ่มใต้ดิน แมลงหางหนีบ ระยะไข่ ทรงกลม ผิวเรียบ สีขาวนวล วางไข่เป็นกลุ่มใต้ดิน ไข่ 1 กลุ่ม >> 30–40 ฟอง อายุไข่ 8–10 วัน

ระยะตัวอ่อน มีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย มี 3 วัย อายุ ~ 55 วัน แมลงหางหนีบ ระยะตัวอ่อน มีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย มี 3 วัย อายุ ~ 55 วัน

แพนหางเรียบสีดำ หนวดแบบเส้นด้าย อายุ ~ 90 วัน แมลงหางหนีบ ระยะตัวเต็มวัย ลำตัวสีดำ ไม่มีปีก แพนหางเรียบสีดำ หนวดแบบเส้นด้าย อายุ ~ 90 วัน

เพศเมีย เพศผู้ ขนาด - ใหญ่กว่า ขนาด - เล็กกว่า หนวด - 16 ปล้อง สีดำ แมลงหางหนีบ เพศผู้ ขนาด - เล็กกว่า หนวด -13 ปล้อง สีดำ (11+12 มีสีขาว) แพนหาง - เรียบ สีดำ เพศเมีย ขนาด - ใหญ่กว่า หนวด - 16 ปล้อง สีดำ (12+13 สีขาว) แพนหาง – เรียบสีดำ ใหญ่ แข็งแรง

เหยื่อที่เป็นหนอน จะใช้แพนหางหนีบ จนหนอนตายแล้วกัดกินเป็นอาหาร แมลงหางหนีบ การทำลายเหยื่อ เหยื่อที่เป็นหนอน จะใช้แพนหางหนีบ จนหนอนตายแล้วกัดกินเป็นอาหาร ถ้ากินอิ่มแล้ว หากพบหนอน จะใช้แพนหางหนีบจนหนอนตายแล้วทิ้งและไปหนีบหนอนตัวใหม่โดยไม่กินเหยื่อ เพลี้ยอ่อน จะใช้ปากกัดกินโดยตรง

แมลงหางหนีบ พฤติกรรมของตัวเมีย - ตัวเมียจะเฝ้าไข่อยู่ตลอดเวลา ถ้าไข่ถูกรบกวน จะย้ายไข่ไปซ่อนที่อื่น แต่ถ้าไข่ยังถูกรบกวนอยู่อีก ก็จะกินไข่ของมันเองจนหมด

อัตราการใช้ - 100 – 2,000 ตัว/ไร่ (ขึ้นกับปริมาณศัตรูพืชในแปลงปลูกพืช) แมลงหางหนีบ อัตราการใช้ - 100 – 2,000 ตัว/ไร่ (ขึ้นกับปริมาณศัตรูพืชในแปลงปลูกพืช) - ปล่อย 1 – 2 ครั้ง/ฤดูกาลปลูก

NEXT

ด้วงเต่าตัวห้ำ ประโยชน์ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง ไข่ของหนอนผีเสื้อ แมลงที่มีลำตัวอ่อนนุ่มขนาดเล็ก

ด้วงเต่าลายหยัก Menochilus sexmaculatus ด้วงเต่าตัวห้ำ ด้วงเต่าลายหยัก Menochilus sexmaculatus

ด้วงเต่าลายสมอ Coccinella transversalis

ด้วงเต่าสีส้ม Micraspis discolor

ด้วงเต่าลายจุด Harmonia octomaculata

ลักษณะการเจริญเติบโต ไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ ตัวเต็มวัย

ระยะไข่ เป็นกลุ่มเรียงกันเป็นระเบียบ สีเหลือง ทรงรี คล้ายลูกรักบี้ ด้วงเต่าลาย ระยะไข่ เป็นกลุ่มเรียงกันเป็นระเบียบ สีเหลือง ทรงรี คล้ายลูกรักบี้ อายุไข่ ประมาณ 2 วัน

ระยะตัวอ่อน ลำตัวแบนหัวท้ายเรียว ลำตัวมีปุ่มหนามอ่อนๆ ด้วงเต่าลาย ระยะตัวอ่อน ลำตัวแบนหัวท้ายเรียว ลำตัวมีปุ่มหนามอ่อนๆ อายุประมาณ 7 - 9 วัน

ระยะดักแด้ สีครีมหรือสีเหลืองอมส้ม ด้วงเต่าลาย ระยะดักแด้ สีครีมหรือสีเหลืองอมส้ม มีระยางค์ส่วนขาและปีกเจริญอยู่ภายนอกลำตัว อายุประมาณ 2 วัน

ระยะตัวเต็มวัย รูปครึ่งวงกลมหรือรูปไข่ ลำตัวโค้งนูน เป็นมันเรียบ ด้วงเต่าลาย ระยะตัวเต็มวัย รูปครึ่งวงกลมหรือรูปไข่ ลำตัวโค้งนูน เป็นมันเรียบ มีหลายสี>>เหลืองอ่อน เหลืองแก่ สีส้มหรือสีชมพู ปีกคู่แรกมีลายหยักเป็นคลื่น ปลายปีกมีแต้มวงกลมสีดำ ข้างละ 1 จุด ขอบด้านล่างของปีกมีแถบสีดำยาวตลอดขอบของปีก อายุประมาณ 1 เดือน

การขนส่ง/เก็บรักษาแมลงห้ำ  ควรนำไปปล่อยในแปลงทันทีหรือเร็วที่สุด  มีอาหารเพียงพอจนถึงเวลาปล่อย (กินกันเอง ถ้าอาหารไม่เพียงพอ)  เก็บในที่ร่ม เย็น อากาศถ่ายเทสะดวก  เขตปลอดมด

การปล่อยแมลงห้ำ - ปล่อยเป็นจุดๆ ให้กระจายไปทั่วทั้งแปลงปลูก หลีกเลี่ยงช่วงที่แสงแดดจัด งดการพ่นสารเคมีกำจัดแมลง

..The End ..