กระทรวงสาธารณสุข & ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
การนำข้อมูลอุบัติเหตุ สู่ Action
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การวิเคราะห์ประเด็น ปัญหาการเฝ้าระวังใน พื้นที่ นายมนัสพร ภมรบุตร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระทรวงสาธารณสุข & ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน โดย นพ.ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานในปี 2552 มีดังนี้ มค.52 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำโครงการ 365 วันอัตราย 19-20 สค. จัดสัมมนาระดับชาติเรื่องอุบัติเหตุจราจร มีนายกรัฐมนตรีไปเปิดการสัมมนา มีนโยบายสาธารณะ 6 ข้อ 29 กย. ครม.มีมติเห็นชอบกำหนดให้อุบัติเหตุทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ และให้การรับรองแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ปี 2552-2555 ของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน และมอบให้กระทรวงสาธารสุขเป็นแกนประสานการพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ 16-18 ธค. สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 มีประเด็นเรื่องการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขคือ เรื่องการขอหรือต่อใบอนุญาตขับขี่ของผู้ขับขี่รถสาธารณะและเพื่อการพาณิชย์ควรมีการคัดกรองโรคหัวใจรุนแรง และให้ระบุไว้เป็นข้อหนึ่งในใบรับรองแพทย์ และ การลดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดสำหรับผู้ขับขี่ยานพาหนะทั่วไป ส่วนในรถโดยสารสาธารณะ ปริมาณแอลกอฮอล์ต้องเป็น 0 กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการไปแล้ว 19-20 พย. มีการประชุม 1st conference Global Minister on Road safety ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย การดำเนินงานในปี 2553 มีดังนี้ - มค.53 กระทรวงคมนาคม ประกาศเป็นปีคมนาคมปลอดภัย 21-22 กพ. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จัดการสัมมนา 2 มีค. UNGA ประกาศ Decade of action for Road Safety 20 เมย. ครม.รับหลักการให้มีการจัดตั้งคณะทำงานสืบสวนอุบัติเหตุในจังหวัด 23 เมย. มติ สช. - คกก.กระจายอำนาจให้แก่ อปท. เห็นชอบมติและมอบหมายให้แจ้งหน่วยงาน (๑๖ มิย. ๕๓) - อนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ภายใต้ คกก.ขับเคลื่อน กำหนดให้เป็นประเด็นหนึ่งในการทำงานกับ อปท. 29 มิย. ครม.รับรองและประกาศปี 2554-2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 7 กย. ครม.เห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ..... ขณะนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติ 21-23 กย.การประชุมผู้เชี่ยวชาญระดับภูมิภาค UNESCAP เรื่องการดำเนินการเพื่อทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 4-6 ตค. ประชุมกลุ่มความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางถนนภายใต้กรอบองค์การสหประชาชาติ ครั้งที่ 12 ณ สมาพันธรัฐสวิส

สถานการณ์อุบัติเหตุทางถนน อุบัติเหตุทางถนนเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตบาดเจ็บ และพิการ ทั่วโลก (Global RTI, 2010) เสียชีวิต 1.27 ล้านคน 3,479 คน/วัน บาดเจ็บ 20 – 50 ล้านคน พิการ อย่างน้อย 5 ล้านคน การดำเนินงานในปี 2552 มีดังนี้ มค.52 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำโครงการ 365 วันอัตราย 19-20 สค. จัดสัมมนาระดับชาติเรื่องอุบัติเหตุจราจร มีนายกรัฐมนตรีไปเปิดการสัมมนา มีนโยบายสาธารณะ 6 ข้อ 29 กย. ครม.มีมติเห็นชอบกำหนดให้อุบัติเหตุทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ และให้การรับรองแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ปี 2552-2555 ของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน และมอบให้กระทรวงสาธารสุขเป็นแกนประสานการพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ 16-18 ธค. สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 มีประเด็นเรื่องการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขคือ เรื่องการขอหรือต่อใบอนุญาตขับขี่ของผู้ขับขี่รถสาธารณะและเพื่อการพาณิชย์ควรมีการคัดกรองโรคหัวใจรุนแรง และให้ระบุไว้เป็นข้อหนึ่งในใบรับรองแพทย์ และ การลดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดสำหรับผู้ขับขี่ยานพาหนะทั่วไป ส่วนในรถโดยสารสาธารณะ ปริมาณแอลกอฮอล์ต้องเป็น 0 กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการไปแล้ว 19-20 พย. มีการประชุม 1st conference Global Minister on Road safety ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย การดำเนินงานในปี 2553 มีดังนี้ - มค.53 กระทรวงคมนาคม ประกาศเป็นปีคมนาคมปลอดภัย 21-22 กพ. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จัดการสัมมนา 2 มีค. UNGA ประกาศ Decade of action for Road Safety 20 เมย. ครม.รับหลักการให้มีการจัดตั้งคณะทำงานสืบสวนอุบัติเหตุในจังหวัด 23 เมย. มติ สช. - คกก.กระจายอำนาจให้แก่ อปท. เห็นชอบมติและมอบหมายให้แจ้งหน่วยงาน (๑๖ มิย. ๕๓) - อนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ภายใต้ คกก.ขับเคลื่อน กำหนดให้เป็นประเด็นหนึ่งในการทำงานกับ อปท. 29 มิย. ครม.รับรองและประกาศปี 2554-2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 7 กย. ครม.เห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ..... ขณะนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติ 21-23 กย.การประชุมผู้เชี่ยวชาญระดับภูมิภาค UNESCAP เรื่องการดำเนินการเพื่อทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 4-6 ตค. ประชุมกลุ่มความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางถนนภายใต้กรอบองค์การสหประชาชาติ ครั้งที่ 12 ณ สมาพันธรัฐสวิส  ประเทศไทย ปี 2552 (รายงานการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ) เสียชีวิต 11,751 คน บาดเจ็บ 857,206 คน (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค, 2552)

มค. มค 52 53 23 เมย. มติ สช.  คสช. 29 กย. ครม.มีมติ กำหนดวาระแห่งชาติ รับรอง แผนแม่บท ศปถ. มอบ สธ.ประสานข้อมูล 19-20 พย. 1st conference Global Minister on RS : Moscow 20 เมย. ครม. รับหลักการ การสืบสวนอุบัติเหตุ 29 มิย. ครม. รับรอง ทศวรรษความปลอดภัย 19-20 สค. จัดสัมมนาระดับชาติอุบัติเหตุจราจร 2 มีค UNGA Decade of action for RS 7 กย รับรอง/ปรับแก้ ระเบียบสำนักนายกฯ มค. 52 การดำเนินงานในปี 2552 มีดังนี้ มค.52 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำโครงการ 365 วันอัตราย 19-20 สค. จัดสัมมนาระดับชาติเรื่องอุบัติเหตุจราจร มีนายกรัฐมนตรีไปเปิดการสัมมนา มีนโยบายสาธารณะ 6 ข้อ 29 กย. ครม.มีมติเห็นชอบกำหนดให้อุบัติเหตุทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ และให้การรับรองแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ปี 2552-2555 ของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน และมอบให้กระทรวงสาธารสุขเป็นแกนประสานการพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ 16-18 ธค. สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 มีประเด็นเรื่องการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขคือ เรื่องการขอหรือต่อใบอนุญาตขับขี่ของผู้ขับขี่รถสาธารณะและเพื่อการพาณิชย์ควรมีการคัดกรองโรคหัวใจรุนแรง และให้ระบุไว้เป็นข้อหนึ่งในใบรับรองแพทย์ และ การลดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดสำหรับผู้ขับขี่ยานพาหนะทั่วไป ส่วนในรถโดยสารสาธารณะ ปริมาณแอลกอฮอล์ต้องเป็น 0 กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการไปแล้ว 19-20 พย. มีการประชุม 1st conference Global Minister on Road safety ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย การดำเนินงานในปี 2553 มีดังนี้ - มค.53 กระทรวงคมนาคม ประกาศเป็นปีคมนาคมปลอดภัย 21-22 กพ. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จัดการสัมมนา 2 มีค. UNGA ประกาศ Decade of action for Road Safety 20 เมย. ครม.รับหลักการให้มีการจัดตั้งคณะทำงานสืบสวนอุบัติเหตุในจังหวัด 23 เมย. มติ สช. - คกก.กระจายอำนาจให้แก่ อปท. เห็นชอบมติและมอบหมายให้แจ้งหน่วยงาน (๑๖ มิย. ๕๓) - อนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ภายใต้ คกก.ขับเคลื่อน กำหนดให้เป็นประเด็นหนึ่งในการทำงานกับ อปท. 29 มิย. ครม.รับรองและประกาศปี 2554-2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 7 กย. ครม.เห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ..... ขณะนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติ 21-23 กย.การประชุมผู้เชี่ยวชาญระดับภูมิภาค UNESCAP เรื่องการดำเนินการเพื่อทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 4-6 ตค. ประชุมกลุ่มความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางถนนภายใต้กรอบองค์การสหประชาชาติ ครั้งที่ 12 ณ สมาพันธรัฐสวิส 365 วันอันตราย สตช. มค 53 21-22 กพ. สัมมนา สตช. 2553 ปีคมนาคมปลอดภัย 16-18 ธค. สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 23 เมย. มติ สช.  คสช. * คกก.กระจายอำนาจให้แก่ อปท. เห็นชอบมติและ มอบหมายให้แจ้งหน่วยงาน (๑๖ มิย. ๕๓) * อนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ภายใต้คกก.ขับเคลื่อน กำหนดให้เป็นประเด็นหนึ่งในการทำงานกับ อปท.

ปฎิญญามอสโก Moscow Declaration  เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 สมัชชาสหประชาชาติจัด การประชุมครั้งที่ 64 ได้ให้การรับรองคำประกาศเจตนารมณ์ปฏิญญามอสโก และประกาศให้ปี พ.ศ.2554-2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (Decade of Action for Road Safety) กำหนดเป้าหมายการลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในระดับที่ท้าทายให้เหมาะสมกับบริบทของ แต่ละประเทศ กำหนดกรอบการทำงาน เป็นเสาหลักไว้ 5 ข้อ

A Framework for the Decade National Activities Pillar 1 Road safety Management Pillar 2 Infra- structure Pillar 3 Safe Vehicles Pillar 4 Road safety user behavior Pillar 5 Post crash care Lead agency Strategy Targets Funding -Improved road design for all users -Road infrastructure rating - Global harmonization vehicles standard - All cars equipped with seat-belts -“Intelligents” vehicles - R&D safety for VRU -BAC Laws -Seat-belts &Child restraints -Motorcycles Helmet -Speed managements -ISO 39100 -Pre hospital care -Trauma care and rehabilitation -Quality Assurance

กรอบการดำเนินงานของ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน  เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบ กำหนดให้ “ปี 2554-2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (Decade of Action for Road Safety)”  กำหนดเป้าหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่ำกว่า 10 คน ต่อประชากรแสนคนในปี 2563  กำหนดกรอบการดำเนินงาน ไว้ 8 ข้อ

8 ประเด็นสำคัญ .. ที่นำมาขับเคลื่อน “ทศวรรษความปลอดภัยทางถนน” การสวมหมวกนิรภัย 100 % การจัดการความเร็ว เมาแล้วขับ สมรรถนะผู้ใช้รถ ใช้ถนน (เช่น การออกใบอนุญาต ขับรถที่มีคุณภาพ) ยานพาหนะที่ได้มาตรฐานความปลอดภัย การจัดการจุดเสี่ยง การดูแลรักษา พัฒนาระบบบริหารจัดการ (กลไกนโยบาย ตัวชี้วัดข้อมูล ติดตาม-ประเมินผล วิจัย , พัฒนาบุคลากร)

แนวทางการดำเนินงานของ กระทรวงสาธารณสุข ภารกิจหลัก :  การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การรักษาและฟื้นฟูผู้บาดเจ็บ เพื่อให้เป็นไปอย่างทั่วถึงและรวดเร็ว  การพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนให้มีความถูกต้องและเป็นเอกภาพ (ตามมติคณะรัฐมนตรีมอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552) ภารกิจรอง : กระทรวงสาธารณสุขร่วมดำเนินการกับหน่วยงานอื่นๆ ที่มีการบูรณาการแผนการดำเนินงานภายใต้ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน ซึ่งมีประธาน เป็นรองนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ)

แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริการรักษาพยาบาล (หลัก) โดยเป็นองค์กรหลักในการให้บริการทางการแพทย์ครบวงจร ตั้งแต่การให้บริการก่อนถึงโรงพยาบาล (EMS) การให้บริการในโรงพยาบาล (In-hospital care) พัฒนาระบบบริการศูนย์อุบัติเหตุ (Trauma Center) การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล (Referral system) และการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย (Rehabilitation) รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร

แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 การเฝ้าระวัง ติดตามและประเมินผล (หลัก) โดยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ ให้มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้จากหน่วยงานต่างๆ ได้ทันการณ์ ทันเวลา ทั้งในภาวะปกติและในภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการวิเคราะห์และปฏิบัติการเชิงรุกด้วยการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์หรือเหตุการณ์และทางออกต่อสังคมในทุกระดับ (Advocacy) รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร

แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาเครือข่าย/กลไกการดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุ (รอง) โดยการประสานงานและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายหลักในยุทธศาสตร์ 5 E (Enforcement, Education, Engineering, EMS และEvaluation) และสนับสนุนการสร้างเครือข่ายใหม่ที่สำคัญ รวมทั้งเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการควบคุมป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในทุกระดับ รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร

แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 4 การให้ความรู้ และรณรงค์ (รอง)ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักในเรื่องความปลอดภัยให้กับประชาชน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านทางบุคลากรทางด้านสาธารณสุข และ อสม. เช่น 1) จัดการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุให้กับประชาชนในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 2) เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลจัดระบบการรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย จากอุบัติเหตุ 3) บุคลากรสาธารณสุขทุกคน ทุกหน่วย รวมถึงเครือญาติ และ อสม. จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัย รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร

แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 5 การพัฒนาบุคลากร (รอง) โดยการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบทุกระดับให้มีความรู้ สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งประสานกับโรงเรียนแพทย์ในการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนที่สอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุทางถนน รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร

แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 6 การศึกษา วิจัย ทบทวนวรรณกรรม และพัฒนาองค์ความรู้ (รอง) ค้นหาองค์ความรู้ใหม่ๆ ด้านการควบคุมป้องกันอุบัติเหตุทางถนน และมีการศึกษาในเรื่องความเสี่ยงต่างๆ สาเหตุ ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุรวมทั้งความสูญเสียที่เกิดขึ้น เพื่อให้ได้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ นำไปสู่การตัดสินใจเชิงนโยบาย รวมทั้งเพื่อให้ได้รูปแบบการดำเนินงานควบคุมป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่สามารถนำไปขยายผลได้ รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร

สิ่งที่กระทรวงอยากเห็น 1. มีระบบข้อมูลเฝ้าระวัง และ มีการเตือนภัย ในทุกระดับ 2. มีการนำข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนจากหลายแหล่งที่มีในจังหวัด ไปใช้ประโยชน์ เพื่อผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนการดำเนินงานในพื้นที่ ในระดับต่างๆ 3. การพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนน การใช้นิยามการตาย 30 วันหลังเกิดเหตุ 4. มีระบบการดูแลช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ที่มีประสิทธิภาพ 5. บทบาทการทำงานของกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร

Time of Action