แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ และการเบิกจ่ายค่าตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ มงคล เจนจิตติกุล ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์นครสวรรค์ 25 กุมภาพันธ์ 2551
การส่งตรวจวิเคราะห์ Lab กรณีสอบสวนโรค ส่งบิลเรียกเก็บเงินจากสคร./สนร. (ทุกวันที่ 25 ของเดือน) ศวก./สวส. รับ specimens จากหน่วยงาน ต่างๆ รายงานผล ตรวจวิเคราะห์
การส่งตรวจวิเคราะห์ Lab กรณีเพื่อการรักษาและวิจัย ส่งบิลเรียกเก็บเงินจากหน่วยงานที่ส่ง ศวก./สวส. รับ specimens จากหน่วยงาน ต่างๆ รายงานผล ตรวจวิเคราะห์
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง ศวก.เชียงราย ศวก.เชียงใหม่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ศวก.พิษณุโลก ศวก.อุดรธานี ศวก.นครสวรรค์ ศวก.ขอนแก่น ศวก.นครราชสีมา ศวก.อุบลราชธานี ศวก.สมุทรสงคราม ศวก.ชลบุรี ศวก.ภูเก็ต ศวก.สุราษฏร์ธานี ศวก.ตรัง ศวก.สงขลา
เอกสารการส่งตัวอย่าง หนังสือนำส่งวัตถุตัวอย่าง สำเนาเรียน - นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด - ผอ.สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต /ผอ.สำนักระบาดวิทยา
หนังสือนำส่งรายงานผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ สำเนาเรียน การรายงานผล หนังสือนำส่งรายงานผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ สำเนาเรียน - นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด - ผอ.สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต /ผอ.สำนักระบาดวิทยา
การเรียกเก็บค่าตรวจวิเคราะห์ ห้องปฏิบัติการที่ เป็นจุดรับตัวอย่างครั้งแรก จะเป็นหน่วยเรียกเก็บค่าใช้จ่ายทั้งหมด (ตรวจเบื้องต้นและตรวจยืนยัน) ของแต่ละ event (0ne stop service)
กรณีที่ไม่เรียกเก็บค่าตรวจวิเคราะห์ การตั้งงบประมาณค่า Lab ไว้ โครงการเฉพาะที่มี การตั้งงบประมาณค่า Lab ไว้ และโอนให้กรมวิทย์ฯ ไปแล้ว
การลงข้อมูลใน Data based สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต/ สำนักระบาดวิทยา
เครือข่ายการเฝ้าระวังโรค (1) - โรคไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดนก และปอดอักเสบหรือเสียชีวิต - โรคติดต่อทางน้ำและอาหาร ได้แก่ อหิวาตกโรค อาหารเป็นพิษ ตับอักเสบ - โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ได้แก่ หัด หัดเยอรมัน คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก - AFP
เครือข่ายการเฝ้าระวังโรค (2) - AEFI อาการไม่พึงประสงค์ ภายหลังการได้รับวัคซีน - โรคสุกใส - โรคตาแดง - โรคไข้สมองอักเสบ - โรคไข้กาฬหลังแอ่น - โรคไข้เลือดอก
เครือข่ายการเฝ้าระวังโรค (3) - โรคพิษสุนัขบ้า - โรคเลปโตสไปโรซีส - โรคสครับไทฟัส - โรคแอนแทรกซ์ - โรคทริคิโนซีส
Thank you for your attention