พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
Advertisements

เรื่องพระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
การกำหนดนโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัยเพื่อให้สอดรับกับ พรบ
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การสั่งจองหนังสือรวมคำบรรยาย ภาคสอง สมัย ๖๖
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ยินดีต้อนรับสู่กิจกรรม
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เสนอ เรื่อง รายงาน อ. ชมัยพร โคตรโยธา จัดทำโดย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น. ๑๓. ๔๐ – ๑๖. ๐๐ น. ๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น.
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
กิจกรรม กำหนดการดำเนินงาน ต. ค. ๒๕ ๕๒ พ. ย. ๒๕ ๕๒ ธ. ค. ๒๕ ๕๒ ม. ค. ๒๕ ๕๓ ก. พ. ๒๕ ๕๓ มี. ค. ๒๕ ๕๓ เม. ย. ๒๕ ๕๓ พ. ค. ๒๕ ๕๓ มิ. ย. ๒๕ ๕๓ ก. ค. ๒๕ ๕๓ ส.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ รวบรวมโดย พล.ต.ต.เดชาวัต รามสมภพ รอง ผบช.ภ.3.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ผู้บริหารพบนักเรียน.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
การทุจริตทางทะเบียนและบัตร
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ รายชื่อสมาชิก นายธีรศาสตร์ ธาราไทย นางรวิชา ยืนยง
จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์
เล่มที่ 134 ตอนที่ 27 ก 18 มิถุนายน 2550
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ สำหรับ ผู้บริหาร พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน.
บทบาท อำนาจ หน้าที่ข้าราชการ กอ. รมน
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
4/7/2017 9:01 AM การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ อ.วีระชัย บุญปก : © 2005 Microsoft.
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
การเตรียมความพร้อมจากผลการบังคับใช้ (ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ
เหตุผลในการประกาศใช้ พ. ร. บ. ป่าสงวนฯ - รัฐมีนโยบายกำหนดในแผนพัฒนา เศรษฐกิจฯ ให้มีพื้นที่ป่าไม้ร้อยละ ๕๐ ของเนื้อที่ประเทศ - ป่าที่คุ้มครองไว้แล้วและยังมิได้
บทบาทหน้าที่ครูแกนนำ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 7) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2555.
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชาหลังวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
ทะเบียนราษฎร.
หน่วยที่ ๖ การเขียนประชาสัมพันธ์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สําหรับตน.
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ จัดทำโดย นายสมยศ พรหมโต เลขที่ 54100271

เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อกำหนด..... ฐานความผิดและบทลงโทษ อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ หน้าที่ของผู้ให้บริการ

ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด โครงสร้าง พ.ร.บ.ฯ คำนิยาม ม.๓ หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ ระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการ ผู้ใช้บริการ พนักงานเจ้าหน้าที่ รัฐมนตรี กระทำต่อคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการ ม.๒๖: เก็บข้อมูลจราจร ๙๐ วันไม่เกิน ๑ ปี อำนาจหน้าที่ (ม.๑๘): (๑) มีหนังสือ/เรียกเพื่อให้ถ้อยคำ/เอกสาร (๒) เรียกข้อมูลจราจร (๓) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลที่อยู่ในครอบครอง (๔) ทำสำเนาข้อมูล (๕) สั่งให้ส่งมอบข้อมูล/อุปกรณ์ (๖) ตรวจสอบ/เข้าถึง (๗) ถอดรหัสลับ (๘) ยึด/อายัดระบบ ม.๕: การเข้าถึงระบบคอมฯ ม.๖: การล่วงรู้มาตรการการป้องกันการเข้าถึง ม.๗: การเข้าถึงข้อมูลคอมฯ ม.๘: การดักรับข้อมูลคอมฯ ม.๙: การรบกวนข้อมูลคอมฯ ม.๑๐: การรบกวนระบบคอมฯ ม.๑๓: การจำหน่าย/ เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด ม.๑๑: Spam mail ม.๑๔: การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์/เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม ม.๑๕: ความรับผิดของผู้ให้บริการ ม.๑๖: การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ/ดัดแปลง ม.๒๗: ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่หรือคำสั่งศาล ระวางโทษปรับ ข้อจำกัด/การตรวจสอบการใช้อำนาจ(ม.๑๙): ยื่นคำร้องต่อศาลในการใช้อำนาจตาม ม.๑๘ (๔)-(๘) , ส่งสำเนาบันทึกรายละเอียดให้แก่ศาลภายใน ๔๘ ชม., ยึด/อายัดห้ามเกิน ๓๐ วัน ขอขยายได้อีก ๖๐ วัน (ม.๑๘(๘)) ม.๑๒ บทหนัก การ block เว็บไซต์ พนักงานเจ้าหน้าที่โดยความเห็นชอบของรมว.ทก.ยื่นคำร้องต่อศาล (ม.๒๐) มีผลบังคับใช้ภายหลังประกาศใช้ ๓๐ วัน (ม.๒) ความรับผิดของพนักงานเจ้าหน้าที่: (ม.๒๒ ถึง มาตรา ๒๔) กระทำความผิดนอกราชอาณาจักร ต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร์ (ม.๑๗) พยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ อ้างและรับฟังมิได้ (ม.๒๕) การรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ (ม. ๒๕) Company Logo การแต่งตั้ง/กำหนดคุณสมบัติพนักงานเจ้าหน้าที่/การประสานงาน (ม.๒๘-๒๙) 3

หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ “

คำนิยาม “ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ

คำนิยาม “ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย

คำนิยาม “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น

คำนิยาม (๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น

คำนิยาม “ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการ ไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม “พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

รูปแบบการกระทำความผิด รูปแบบการกระทำความผิด (๑) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัย & ความเสียหาย (Information Security) มาตรา ๕ เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๖ เปิดเผยมาตรการป้องกันระบบ มาตรา ๗ เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๘ ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ สปายแวร์ (Spyware) สนิฟเฟอร์ (Sniffer) - การสอดแนมข้อมูลส่วนตัว - การแอบดักฟัง packet

รูปแบบการกระทำความผิด (๒) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัย & ความเสียหาย (Information Security) มาตรา ๙ แก้ไข/ เปลี่ยนแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๐ รบกวน/ขัดขวาง ระบบคอมพิวเตอร์ การใช้ชุดคำสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เช่น Viruses, Worms, Trojan Horses - การตั้งเวลาให้โปรแกรมทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ - การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน (Denial of Service)

รูปแบบการกระทำความผิด (๓) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัย & ความเสียหาย (Information Security) มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ การทำสแปม (Spamming) ปกปิด/ปลอมแปลงแหล่งที่มา รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ตามปกติ อาจถึงขั้นทำให้เป็น Zombie

รูปแบบการกระทำความผิด (๔) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัย & ความเสียหาย (Information Security) มาตรา ๑๒ เหตุฉกรรจ์ อันเกิดจากการกระทำข้างต้น (๑) แก่ประชาชน (๒) ความมั่นคง BOT หรือ BOTNET - ผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ หรือทางเศรษฐกิจ ความปลอดภัยสาธารณะ การบริการสาธารณะ อาจเกิดสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)

รูปแบบการกระทำความผิด (๕) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย มาตรา ๑๓ การจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ Hacking Tools Spam Tools - การสอดแนมข้อมูลส่วนตัว - การแอบดักฟัง packet

รูปแบบการกระทำความผิด (๖) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย มาตรา ๑๔ การนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม/ เท็จ /ภัยต่อความมั่นคง/ ลามก /หรือการส่งต่อข้อมูล (forward) นั้น การใช้ชุดคำสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เช่น Viruses, Worms, Trojan Horses, Phishing /ยุยง/หลอกลวง/ภาพลามก - การตั้งเวลาให้โปรแกรมทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ - การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน (Denial of Service)

รูปแบบการกระทำความผิด (๗) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย มาตรา ๑๕ ความรับผิดฐานสนับสนุนการกระทำความผิดของผู้ให้บริการ จงใจสนับสนุน / ยินยอม การโพสต์หรือนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามมาตรา ๑๔ ความเสียหายกับบุคคลอื่น

รูปแบบการกระทำความผิด (๘) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพ เป็นเหตุให้ถูก ดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย การตัดต่อภาพ ผู้ถูกกระทำถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย

ขอบคุณ