ดาวเนปจูน (Neptune).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
Advertisements

Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
(Structure of the Earth)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ระบบสุริยะ (Solar System).
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
(Global Positioning System)
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
กาแล็กซีและเอกภพ.
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
กล้องโทรทรรศน์.
โลก (Earth).
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ยูเรนัส (Uranus).
การหักเหของแสง (Refraction)
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ Next.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) กฏข้อที่ 1: ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมี ดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง กฏข้อที่ 2: เส้นตรงที่โยงระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
โลกและสัณฐานของโลก.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดาวเนปจูน (Neptune)

ดาวเนปจูนเป็นดาวเคราะห์ที่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นดวงที่แปด และมีขนาดใหญ่เป็นที่สี่ (วัดจากเส้นผ่าศูนย์กลาง) ดาวเนปจูนมีขนาดเล็กกว่าดาวยูเรนัสแต่มีมวลมากกว่า

ในตำนานโรมัน Neptune (หรือตำนานกรีก เรียกว่า Poseidon) เป็นเทพแห่งท้องทะเล

หลังจากการค้นพบดาวยูเรนัส ซึ่งสังเกตเห็นได้ว่า วงโคจรของดาวยูเรนัสไม่เป็นไปตาม Newton’s law จึงคาดว่าน่าจะมีดาวเคราะห์ที่ห่างไกลออกไปเป็นตัวรบกวนวงโคจรของดาวยูเรนัส ดาวเนปจูนถูกค้นพบโดย Galle และ d’Arrest เมื่อ 23 กันยายน 1846 ซึ่งใกล้เคียงกับตำแหน่งที่ได้คำนายไว้โดย Adams และ Le Verrier โดยอาศัยการคำนวณตำแหน่งของดาวพฤหัส ดาวเสาร์ และ ดาวยูเรนัส

ความรู้ทั้งหมดของดาวเนปจูนได้จากยาน Voyenger 2 ซึ่งเดินทางผ่านดาวเนปจูนเมื่อ 25 สิงหาคม 1989

เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตไม่เป็นวงกลม ในบางครั้งก็ตัดผ่านวงโคจรของดาวเนปจูน ทำให้ดาวเนปจูนอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ที่สุดเป็นเวลาหลายปี

ส่วนประกอบของดาวเนปจูนคล้ายกับของดาวยูเรนัส คือประกอบด้วยน้ำแข็งหลายชนิด และหิน มีไฮโดรเจนประมาณ 15% และ ฮีเลียมอีกเล็กน้อย โครงสร้างไม่แบ่งเป็นชั้นเหมือนดาวพฤหัสและดาวเสาร์ แต่กลับเป็นมวลเนื้อเดียวเหมือนดาวยูเรนัส มีแกนกลางขนาดเล็กมีมวลใกล้เคียงกับโลกซึ่งเป็นหิน บรรยากาศประกอบด้วยไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเทนเล็กน้อย มีเทนที่อยู่ในบรรยากาศทำให้ดาวเนปจูนมีสีน้ำเงิน

ดาวเนปจูนมีแถบสีเช่นเดียวกับดาวก๊าซทั่วไป มีลมซึ่งพัดด้วยความเร็วสูงมากประมาณ 2,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งเป็นความเร็วลมที่เร็วที่สุดในระบบสุริยะ

ดาวเนปจูนมีแหล่งพลังงานความร้อนภายใน ซึ่งปลดปล่อยพลังงานออกมาเป็น 2 เท่าของพลังงานที่ได้รับจากดวงอาทิตย์

จุดมืดยักษ์ (Great Dark Spot) ซึ่งพบอยู่ทางซีกใต้ของดาว มีขนาดเป็นครึ่งหนึ่งของจุดแดงยักษ์ของดาวพฤหัส ความเร็วของลมที่พัดในจุดมืดยักษ์มีความเร็วประมาณ 300 กิโลเมตรต่อวินาที (700 ไมล์ต่อชั่วโมง)

มีจุดมืดขนาดเล็ก และเมฆรูปร่างประหลาดที่พัดวนรอบดาวเนปจูนโดยใช้เวลาประมาณ 16 ชั่วโมง ซึ่งเชื่อว่าเกิดจาก plume ที่ขึ้นมาจากบรรยากาศส่วนล่าง

จุดมืดยักษ์สามารถหายไปได้และเกิดใหม่ได้ ซึ่งบ่งบอกว่า บรรยากาศของดาวเนปจูนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจเกิดเนื่องจากการความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างเมฆชั้นบนและชั้นล่าง

ดาวเนปจูนก็มีวงแหวนเช่นกัน ซึ่งเมื่อสังเกตจากพื้นโลกพบว่าเป็นวงแหวนที่ไม่เต็มวง แต่จากภาพที่ได้จาก Voyager 2 แสดงให้เห็นว่าวงแหวนมีเต็มวง แต่มีความมืดมากและส่วนประกอบยังไม่ทราบ

ดาวเนปจูนก็มีวงแหวนเช่นกัน ซึ่งเมื่อสังเกตจากพื้นโลกพบว่าเป็นวงแหวนที่ไม่เต็มวง แต่จากภาพที่ได้จาก Voyager 2 แสดงให้เห็นว่าวงแหวนมีเต็มวง แต่มีความมืดมากและส่วนประกอบยังไม่ทราบ

วงแหวนของดาวเนปจูนวงนอกสุดเรียกว่า Adam ซึ่งประกอบด้วย วงแหวนเล็กๆ 3 วง คือ Liberty, Equality และ Fraternity วงถัดมายังไม่มีชื่อซึ่งมีวงโคจรร่วมกับดาว Galetea วงถัดมาเรียกว่า Leverrier แบ่งเป็น 2 วงเล็ก เรียกว่า Lassell และ Arago และวงสุดท้ายที่เรียกว่า Galle

สนามแม่เหล็กของดาวเนปจูนคล้ายกับของดาวยูเรนัส คือมีความแปลกในการวางตัว ทำมุมประมาณ 47 องศากับแกนหมุน ซึ่งอาจเกิดจากการเคลื่อนที่ของตัวนำไฟฟ้าในส่วนกลางของชั้น

ดาวเนปจูนสามารถเห็นได้ด้วยกล้องส่องทางไกลเป็นรูปกลมๆ แต่หากต้องการดูรายละเอียดก็จำเป็นต้องใช้กล้องโทรทรรศน์

ดาวเนปจูนมีดาวบริวาร 8 ดวง เป็นดาวขนาดเล็ก 7 ดวง และดาวขนาดใหญ่หนึ่งดวงที่เรียกว่า Triton