แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
การสืบพันธุ์ของพืช.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
(FUNGUS-FARMING INSECTS)
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
BIO-ECOLOGY 2.
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
โดย มิสจารุวรรณ สัจจะวัฒนวิมล ม.นพดล ปัญญาดี
การจำแนกพืช.
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
มาเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
เขียดเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
การสืบพันธุ์ของพืช.
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
เราไปกัน เลย ปิด โปรแกร ม ก. แมว ค. นก ข. ม้า ง. ควาย อ๋อ..... รู้ แล้ว.
การผดุงครรภ์ไทย.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ขาของแมลง (Insect Legs)
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การออกแบบการเรียนรู้
การออกแบบการเรียนรู้
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
ด้วงกว่าง.
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
ประเภทของมดน่ารู้.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
ปลาหางนกยูง.
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
บทปฏิบัติการที่ 3 ปากของแมลง (Insect Mouthparts)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน (Social Insects) แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน มีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน มีความคาบเกี่ยวกันของอายุสมาชิก เช่น : - ปลวก (Isoptera) - มด ต่อ แตน แมลงภู่ ตัวชันโรง ผึ้ง

ลำดับสังคมของแมลง 1. แมลงที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว(solitary insect) หากินอิสระไม่ได้อยู่ร่วมกันเลย อยู่ร่วมกันเฉพาะระยะผสมพันธุ์เท่านั้น ตั๊กแตน แมลงปอ เพลี้ย มวน แมลงปีกแข็ง ฯลฯ

2. แมลงที่อยู่ร่วมกันชั่วคราว (Subsocial insect) อยู่ร่วมกันเฉพาะป้องกันศัตรู และดูแลลูกอ่อน (maternal care) ไม่มีการจัดแบ่งหน้าที่การทำงาน แมลงหางหนีบ จิ้งหรีด ตั๊กแตนตำข้าว ฯลฯ

3. แมลงที่อยู่ร่วมรัง มีสมาชิกอายุเดียวกัน อาศัยร่วมกัน 3. แมลงที่อยู่ร่วมรัง Communal insects มีสมาชิกอายุเดียวกัน อาศัยร่วมกัน มีทางออกจากรังร่วมกัน ไม่มีการช่วยกันเลี้ยงลูกอ่อน ตัวเมียเลี้ยงลูกของตัวเอง และวางไข่ ผึ้งกัดใบ (Megachilidae) , Halictidae

4. แมลงสังคมพื้นฐาน (Quasisocial) สมาชิกรุ่นเดียวกัน ไม่เกิน 10 ตัว ช่วยกันสร้างรัง ช่วยกันเลี้ยงดูตัวอ่อน ตัวเมียทุกตัววางไข่ได้ สะสมอาหารให้ลูกอ่อน ผึ้งกัดใบ ,ผึ้งวงศ์ Halictidae

แมลงสังคมชั้นกลาง - มีวรรณะสืบพันธุ์ : “นางพญา” (Semisocial insects) - เพศเมียหลายตัวอยู่ร่วมกัน - มีวรรณะสืบพันธุ์ : “นางพญา” - ตัวเมียเป็นหมัน : เลี้ยงดูตัวอ่อน ต่อ, แตนบางชนิด,ผึ้งรู

6. แมลงสังคมแท้ (Eusocial insects) เพศเมียทำหน้าที่เลี้ยงดูตัวอ่อน กำหนดวรรณะสืบพันธุ์ในสมาชิกเพศเมียบางตัว มีแมลงต่างรุ่นอยู่ร่วมกัน ปลวก, ผึ้ง (Apidae)

ผึ้ง (Bee) 1. ผึ้งนางพญา (queen) - ผลิต queen pheromone - วางไข่ - ผลิต queen pheromone -ควบคุมการทำงานของรัง - ป้องกันไม่ให้ ผึ้งงานสร้าง queen cell

2. ผึ้งตัวผู้ (Drone) - ได้รับการเลี้ยงดูจากผึ้งงาน - มีหน้าที่ผสมพันธุ์กับผึ้งนางพญา - ได้รับการเลี้ยงดูจากผึ้งงาน - ลิ้นสั้นดูดอาหารจากดอกไม้ไม่ได้

3. ผึ้งงาน (Worker) - มีเหล็กไน,wax gland, pollen basket - ผึ้งตัวเมียรังไข่ไม่เจริญ - มีเหล็กไน,wax gland, pollen basket - มีกระเพาะเก็บน้ำผึ้ง,ต่อมผลิต alarm pheromone 3.1 ผึ้งประจำบ้าน (house bee) 3.2 ผึ้งสนาม (field bee) หาอาหาร ออกสำรวจ

พฤติกรรมของผึ้ง 1. การผสมพันธุ์ - บิน 1 ครั้ง ผสมกับตัวผู้ 10-15 ตัว 1. การผสมพันธุ์ - นางพญาบินไปผสมกับผึ้งตัวผู้ - บิน 1 ครั้ง ผสมกับตัวผู้ 10-15 ตัว - บินกลับรังและไม่ผสมอีกตลอดชีวิต

2. การวางไข่ - cell ใหญ่วางไข่เพศผู้, cell เล็กวางไข่ผึ้งงาน 2. การวางไข่ - วางไข่ 1 ฟอง / cell, 2000 ฟอง / วัน - cell ใหญ่วางไข่เพศผู้, cell เล็กวางไข่ผึ้งงาน - ผึ้งงานให้อาหาร royal jelly

ถ้าเจริญเป็นผึ้งตัวผู้ /ผึ้งงานจะหยุดให้ royal jelly 3.การเลี้ยงดูตัวอ่อน ให้อาหาร royal jelly (1-4 วัน) ถ้าเจริญเป็นผึ้งตัวผู้ /ผึ้งงานจะหยุดให้ royal jelly

4. การหาน้ำหวานและเกสรดอกไม้ - ปรับปรุงเวลาทำงานให้ตรงกับดอกไม้บาน - เก็บเกสร 25 %, น้ำหวาน 60 % - กลับรัง จ่ายน้ำผึ้งให้ผึ้งประจำรัง - ผึ้งประจำรังรับด้วย probosis

- ไม่มี cell ว่างสำหรับวางไข่/เก็บน้ำหวาน - นางพญาอายุมากเกินไป 6. การแยกรัง - ประชากรมากเกินไป - ไม่มี cell ว่างสำหรับวางไข่/เก็บน้ำหวาน - นางพญาอายุมากเกินไป - ผึ้งงานเริ่มสร้าง Queen cell - ผึ้งงาน1/2 และ ผึ้งนางพญาบินออกจากรัง

7. การเต้นรำ 7.1 การเต้นแบบวงกลม (round dance) แหล่งอาหารไม่เกิน100 ม.

การป้องกันรัง - ใช้เหล็กไน ต่อยศัตรู - เฝ้าหน้ารัง - ใช้เหล็กไน ต่อยศัตรู - ฟีโรโมน เตือนภัย (alarm pheromone) กระพือปีกส่งฟีโรโมน

7.3 การเต้นรำแบบเตือนภัย (alarm dance) 7.2 การเต้นแบบส่ายท้อง (tail wagging dance) - เต้นเป็นเส้นตรงและวนซ้าย – ขวา ครึ่งรอบ - บอกทิศทางและระยะทางแหล่งอาหาร 9-10=100m 4=1000m ใน15 นาที - ช้าอาหารน้อย แรงและเร็วอาหารมาก 7.3 การเต้นรำแบบเตือนภัย (alarm dance) - เต้นแบบซิกแซก / แบบเกลียว - แกว่งท้องรุนแรง

Insect dance

ปลวก (termite) มีโปรโตซัวย่อย cellulose วรรณะสืบพันธุ์ (reproductive caste) - King, Queen - Q มีส่วนท้องขยายใหญ่ - Q มีหน้าที่วางไข่

2. Sterile caste 2.1 ปลวกงาน (worker) - ทำความสะอาดรัง - เลี้ยงดู Q - ทำความสะอาดรัง - เลี้ยงดู Q - cellulase enzyme ย่อย cellulose 2.2 ปลวกทหาร (soldier) - ส่วนหัวแข็ง - mandible ใหญ่

1. นางพญา (Queen) มด - ไข่วางทั่วไปในรัง - มีอายุ 12-17 ปี - ไข่วางทั่วไปในรัง - ตัวเต็มวัยเพศเมีย ผสมกับเพศผู้ 2. มดเพศผู้ (Drone) - ผสมพันธุ์และตาย

3. มดงาน (Worker) - มีอายุ 6 ปี - ดูแลตัวอ่อนในรัง - เพศเมียไม่มีปีก - มีอายุ 6 ปี - ดูแลตัวอ่อนในรัง - ชนิดและทำเครื่องหมายด้วย

สร้างรัง

รังมด