สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การบวก จำนวนเต็มบวก กับ จำนวนเต็มบวก
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
LAB # 3 Computer Programming 1
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
แนวโน้มของตารางธาตุ.
ระบบอนุภาค.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
การแจกแจงปกติ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
การจัดธาตุเป็นหมวดหมู่
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด      อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็ก แต่มีมวลมากและมีประจุเป็นบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุเป็นลบ และมีมวลน้อยมาก จะวิ่งอยู่รอบนิวเคลียสเป็นบริเวณกว้าง

อนุภาคมูลฐานของอะตอม ทุกอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่สำคัญคือ  โปรตอน, นิวตรอน และอิเล็กตรอน  โดยมีโปรตอนกับนิวตรอนอยู่ภายในนิวเคลียส  นิวเคลียสนี้จะครอบครองเนื้อที่ภายในอะตอมเพียงเล็กน้อย  และมีอิเล็กตรอนวิ่งรอบๆ นิวเคลียสด้วยความเร็วสูง  คล้ายกับมีกลุ่มประจุลบปกคลุมอยู่โดยรอบ

อนุภาค ประจุ(หน่วย) ประจุ(C) มวล(g) มวล(amu) อิเล็กตรอน -1 1.6 x 10-19 0.000549 9.1096 x 10-28 โปรตรอน +1 1.007277 1.6726 x 10 -24 นิวตรอน 1.008665 1.6749 x 10-24 อิเล็กตรอน(Electron) สัญลักษณ์ e- มีประจุลบ และมีมวลน้อยมาก โปรตอน สัญลักษณ์ p+ มีประจุเป็นบวก และมีมวลมากกว่า อิเล็กตรอน (เกือบ 2,000 เท่า) นิวตรอน สัญลักษณ์ n มีประจุเป็นศูนย์ และมีมวลมากพอๆกับโปรตอน หมายเหตุ อนุภาคนิวตรอน ค้นพบโดย เจมส์ แซควิก (James Chadwick) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ(พ.ศ.2475)

เลขอะตอม,เลขมวลและสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 1 เลขอะตอม,เลขมวลและสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 1. จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสเรียกว่า เลขอะตอม(atomic number, Z) 2. ผลบวกของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอนเรียกว่า เลขมวล (mass number, A) A = Z + N โดยที่ N เป็นจำนวนนิวตรอน (เลขเชิงมวลจะเป็นจำนวนเต็มและมีค่าใกล้เคียงกับมวลของอะตอม) การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ เขียน(A)ไว้ข้างบนด้านซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ เขียน(Z)ไว้ข้างล่างด้านซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ X = สัญลักษณ์ของธาตุ

การหาอนุภาคมูลฐานของอะตอม จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ดังนั้น อะตอมของธาตุลิเทียม ( Li ) มีจำนวนโปรตอน = 3 ตัว อิเล็กตรอน = 3 ตัว และนิวตรอน = 4 ตัว

ตัวอย่าง จงคำนวณจำนวนอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน ของธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ดังต่อไปนี้ 2311Na, 23592U, 126C วิธีทำ จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ AZX A คือ เลขมวล Z คือ เลขอะตอม A = Z + n n = A - Z สำหรับ Na มี A = 23 , Z = 11 เพราะฉะนั้น n = 23 - 11 = 12 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 11 มีนิวตรอน = 12

สำหรับ U มี A = 235 , Z = 92 เพราะฉะนั้น n = 235 - 92 = 143 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 92 มีนิวตรอน = 143 สำหรับ C มี A = 12 , Z = 6 เพราะฉะนั้น n = 12 - 6 = 6 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 6 มีนิวตรอน = 6

จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียและบอกอนุภาคมูลฐานของ อะตอมต่อไปนี้ 1. โพแทสเซียม 2. กำมะถัน 3. โบรมีน 4. แคลเซียม 5. ซิลิคอน

เฉลย 1. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 3919K มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 19 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 19 เพราะฉะนั้น n = 39 - 19 = 20 มีนิวตรอน = 20 2. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 3216S มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 16 เพราะฉะนั้น n = 32 - 16 = 16 มีนิวตรอน = 16

เฉลย 3. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 8035Br มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 35 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 35 เพราะฉะนั้น n = 80 - 35 = 45 มีนิวตรอน = 45 4. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 4020Ca มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 20 เพราะฉะนั้น n = 40 - 20 = 20 มีนิวตรอน = 20

เฉลย 5. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 2814Si มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 14 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 14 เพราะฉะนั้น n = 28 - 14 = 14 มีนิวตรอน = 14