ความหมายของการวิจารณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การเขียนบทความ.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
รายงานการวิจัย.
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
การศึกษารายกรณี.
Seminar in computer Science
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
Proposal / Profile : ทำเพื่อเสนอต่อสถานีโทรทัศน์ ขอช่องทางออกอากาศ
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ธุรกิจ จดหมาย.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
“เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ” ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
บทนำ บทที่ 1.
การเขียนรายงานการวิจัย
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
วิธีคิดวิธีวิเคราะห์ วิจารณ์งานประพันธ์จึง มีลักษณะดังนี้
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การฟังเพลง.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ทักษะการอ่าน.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การเขียนรายงาน.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของการวิจารณ์

ตาม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. 2525 ให้ความหมายของคำนี้ว่า ตาม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคำนี้ว่า...คำตัดสินสิ่งที่เป็น ศิลปกรรมหรือ วรรณกรรม โดยผู้มีความรู้ควรเชื่อถือได้ ว่ามีค่าความงามความไพเราะดีอย่างไร หรือมีข้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง เช่นเขาวิจารณ์ว่า หนังสือเล่มนี้แสดงปัญหาสังคมในปัจจุบันได้ดีมากสมควรได้รับรางวัล, ติชม, มักใช้เต็มคำว่า วิพากษ์วิจารณ์ เช่นคนดูหนังวิพากษ์วิจารณ์ว่าหนังเรื่องนี้ดำเนินเรื่องช้าทำให้คนดูเบื่อ ตาม พจนานุกรม

การวิจารณ์ หมายถึง การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีที่แสดงออกมานั้น ให้เห็นว่าน่าคิด น่าสนใจ น่าติดตาม มีชั้นเชิงยอกย้อนหรือตรงไปตรงมา องค์ประกอบใดมีคุณค่าน่าชมเชย องค์ประกอบใดน่าท้วงติงหรือบกพร่องอย่างไร การวิจารณ์ สิ่งใดก็ตามจึงต้องใช้ความรู้ มีเหตุมีผล มีหลักเกณฑ์และมีความรอบคอบด้วย ตามปกติแล้ว เมื่อจะวิจารณ์สิ่งใด จะต้องผ่านขั้นตอนและกระบวนการของการวิเคราะห์สาร วินิจสาร และประเมินค่าสาร ให้ชัดเจนเสียก่อนแล้ว จึงวิจารณ์แสดงความเห็นออกมาอย่างมีเหตุมีผลให้น่าคิด น่าฟังและเป็นคำวิจารณ์ที่เชื่อถือได้สารที่ได้รับจากการฟังมีมากมาย

การวิจารณ์ที่พบในชีวิตประจำวัน 1.ข่าวและสารประชาสัมพันธ์ 2.ละคร 3.การสนทนา คำสัมภาษณ์บุคคล 4.คำปราศรัย การบรรยาย บทอภิปราย โอวาท 5.งานประพันธ์ร้อยกรองประเภทต่างๆ

ลักษณะของการวิจารณ์   1. การวิจารณ์เป็นการถ่ายทอดความคิดเห็น ชี้จุดเด่น จุดด้อยตลอดจนความรู้สึกเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น ผลงานด้านศิลปกรรม งานวรรณกรรม ข่าวสารบ้านเมือง เหตุการณ์ในสังคม เรื่องราวของบุคคล เป็นต้น อย่างสมเหตุสมผล มีข้อมูลสนับสนุนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา ไม่มีอคติต่อสิ่งที่วิจารณ์ เช่น หนังสือที่เราจะวิจารณ์นั้นมีอะไร ให้เนื้อหาสาระแก่ผู้อ่านมากน้อยเพียงใด เป็นต้น

  2. เป็นข้อเขียนที่ชัดเจนในการบอกให้ผู้อ่านทราบถึงรายละเอียด ของสิ่งนั้น ดังนั้นผู้วิจารณ์ต้องมีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับเรื่องที่วิจารณ์ เป็นอย่างดี เช่น การวิจารณ์วรรณกรรม จะต้องรู้ว่าเป็นหนังสือประเภทใด ใครเป็นผู้แต่ง มีเนื้อเรื่อง วิธีการแต่ง การใช้ภาษาเป็นอย่างไร เป็นต้น แล้วจึงสามารถวินิจฉัยคุณค่าของสิ่งที่จะวิจารณ์ได้ว่าดีหรือไม่อย่างไร

3. เป็นข้อเขียนที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย น่าอ่าน ทำให้ผู้อ่านติดตามอ่านจนจบ   ใช้ถ้อยคำอย่างสร้างสรรค์ ไม่ใช้ถ้อยคำในเชิงประจาน หรือโจมตีผู้เขียนอย่างรุนแรง นอกจากนี้ บทวิจารณ์ที่ดีจะต้องให้ความรู้ ความคิด ข้อเสนอแนะ แก่ผู้อ่าน ชี้ให้เห็นคุณค่าพิเศษที่อยู่ในงานเขียนเรื่องนั้น

โครงสร้างของการวิจารณ์       1.  ชื่อเรื่อง (Tlttle)  ควรตั้งชื่อเรื่องที่เรียกร้องความสนใจของผู้อ่านและสื่อความหมายได้ชัดเจน  เช่น ตั้งชื่อตามชื่อหนังสือที่ต้องการวิจารณ์ ตั้งชื่อตามจุดมุ่งหมายของเรื่อง ตั้งชื่อด้วยการให้ประเด็นชวนคิด ชวนสงสัย เป็นต้น          

2.  ความนำหรือประเด็นที่จะวิจารณ์ (Lead or Issue)  หรือบทนำ  เป็นการเขียนนำเกี่ยวกับเรื่องที่จะวิจารณ์ เช่น ถ้าเป็นการวิจารณ์วรรณคดี  ต้องบอก ชื่อวรรณคดี ผู้แต่ง ประเภท ความเป็นมาของเรื่อง และอาจเขียนอธิบายและจูงใจที่ทำให้ผู้วิจารณ์สนใจวรรณคดีเรื่องนี้

3.  เนื้อเรื่อง (Body)  เป็นส่วนแสดงความคิดเห็นและรายละเอียดในการวิจารณ์ โดยนำเสนอจุดเด่น และจุดบกพร่องของเรื่องอย่างมีหลักเกณฑ์และมีเหตุผล หากต้องการเล่าเรื่องย่อของวรรณคดีหรือรรณกรรม ที่นำมาวิจารณ์ ควรเขียนเล่าเรื่องอย่าง

  4. บทสรุป (Conclusion) เป็นย่อหน้าสุดท้ายของบทวิจารณ์ เป็นการเขียนสรุปความคิดทั้งหมดที่วิจารณ์และให้แง่คิด หรือข้อสังเกตที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน นอกจากนี้บทสรุปยังช่วยให้ผู้อ่านได้ทบทวนประเด็นสำคัญของเรื่องและความคิดสำคัญของผู้วิจารณ์ แม้ว่าผู้อ่านอาจจะไม่ได้อ่านบทวิจารณ์ทั้งบท แต่ได้อ่านบทสรุปก็สามารถทราบเรื่องของวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่นำมาวิจารณ์ รวมทั้งความคิดเห็นของผู้วิจารณ์ที่มีต่อวรรณคดีหรือวรรณกรรมเรื่องนั้นได้

อ้างอิง http://sirimajan.exteen.com/20090816/entry-1 http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C