หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) [แผนกคอมพิวเตอร์] หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) ขั้นตอนวิธีวิเคราะห์ปัญหา การเขียนโปรแกรม 1 บทที่ โดยอาจารย์อำภา กุลธรรมโยธิน วิทยาลัยอาชีวศึกษาธนบุรี
หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 1. ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ขั้นตอนพื้นฐานที่สำคัญก่อนการเขียนโปรแกรม กำหนดขอบเขตของปัญหา การพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อแก้ปัญหา การออกแบบโปรแกรม เขียนโปรแกรม การคอมไพล์โปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การจัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
2. กระบวนการทำงานในหน่วยความจำ ของคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 5 หน่วย คือ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2. หน่วยความจำ (Memory Unit) 3. หน่วยคำนวณ (Arithmetic Unit) 4. หน่วยควบคุม (Control Unit) 5. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) หน่วยรับข้อมูล เป็นหน่วยที่ใช้รับข้อมูลหรือคำสั่ง ป้อนเข้าสู่หน่วยความจำ ในคอมพิวเตอร์ เมื่อผู้ใช้มีความต้องการที่จะป้อนข้อมูลเข้าไป ยังคอมพิวเตอร์ จะต้องใช้อุปกรณ์เพื่อนำข้อมูลไปเก็บไว้ใน หน่วยความจำ เช่น คีย์บอร์ด หรือแป้นพิมพ์ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
ลักษณะโครงสร้างของหน่วยความจำ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บ-จำข้อมูล หรือโปรแกรมที่อ่านเข้ามาผ่าน ทางหน่วยรับข้อมูล ลักษณะโครงสร้างของหน่วยความจำ มีลักษณะเหมือนหน้ากระดาษที่ใช้เขียนหรือแบ่งเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ เท่า ๆ กัน หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หน่วยคำนวณ เป็นหน่วยที่ทำการคำนวณต่าง ๆ ตามที่โปรแกรมกำหนด ในหน่วยความจำ ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณเอามาจาก หน่วยความจำ เปรียบได้กับสมองของมนุษย์ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หน่วยแสดงผล ทำหน้าที่นำผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ ที่เก็บไว้ในหน่วย ความจำ แสดงออกมาภายนอก ตัวอย่างเช่น เครื่องพิมพ์ , จอภาพ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมให้การทำงานหน่วยอื่น ๆ ทั้ง 4 หน่วย เป็นไปโดยถูกต้องและสัมพันธ์กัน หากหน่วยควบคุมนี้ขัดข้องการทำงานก็จะผิดพลาด หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
ตรรกะ(Logic) หมายถึง เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง 3. ตรรกะกับเซต ตรรกะ(Logic) หมายถึง เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ตรรกะเป็นพื้นฐานเพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของ คอมพิวเตอร์ เนื่องจากการทำงานของคอมพิวเตอร์ จะทำงานสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านตรรกะ ตัวดำเนินการ เรียกว่า “โอเปอเรเตอร์” คือ เครื่องหมายที่ใช้บอกการกระทำ ตัวถูกดำเนินการ เรียกว่า ”โอเปอแรนด์” หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
1. ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์การคำนวณทางคณิตศาสตร์ + บวก - ลบ * คูณ / หาร DIV การหาร โดยคิดเฉพาะจำนวนเต็มที่ได้จากการหาร MOD การหาร โดยคิดเฉพาะเศษที่ได้จากการหาร ตัวอย่างเช่น A, b, c, 4, 2 เป็นโอเปอแรนด์ + - * / เป็นโอเปอเรเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
2. ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ เป็นเครื่องหมายการกระทำทางตรรกศาสตร์ประกอบด้วย โอเปอแรนด์ที่เป็นตัวแปร หรือค่าคงที่ที่เป็นตัวเลข เชื่อมกันด้วยโอเปอเรเตอร์ เช่น การเปรียบเทียบมากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ หรือ สัญลักษณ์ทางตรรกศษสตร์ ได้แก่ AND , OR , NOT หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) เซต (Set) คือ กลุ่ม หมู่ เหล่า กอง ฝูง ชุด เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า “สมาชิก” หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซต สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซต ชื่อและสมาชิกของเซต 1. สามารถใช้วงกลม , วงรี แทนเซตต่าง ๆ ได้ 2. ชื่อเซตนิยมใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด เช่น A , B , C, ... , Z 3. สัญลักษณ์ แทนคำว่า “เป็นสมาชิกของ” แทนคำว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” เช่น - ให้ A เป็นเซตของจำนวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 5 1 A, 2 A, 3 A, 4 A, 5 A, A 0 A, 6 A, - ให้ B เป็นเซตของสระในภาษาอังกฤษ a B, e B, i B, o B, U B, B b B, c B, หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) - เซตว่าง (Null Set / Empty Set) คือเซตที่ไม่มีสมาชิกเลย เขียนแทนด้วย { } หรือ f (phi) เช่น เซตของจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 1 กับ 2 เซตของสระในคำว่า “อรวรรณ” - เซตจำกัด (Finite Set) คือเซตที่มีจำนวนสมาชิกเท่ากับ จำนวนเต็มบวก หรือศูนย์ เช่น f มีจำนวนสมาชิกเป็น 0 { 1, 2, 3, ... , 100} มีจำนวนสมาชิกเป็น 100 - เซตอนันต์ (Infinite Set) คือ เซตที่ไม่ใช่เซตจำกัด ไม่ สามารถบอกจำนวนสมาชิกได้ เช่น เซตของจำนวนเต็มบวก {1, 2, 3, ... } หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) วิธีเขียนเซต อีก 2 วิธี 1. วิธีแจงแจงสมาชิก หลักการเขียนมีดังนี้ - เขียนสมาชิกทั้งหมดในวงเล็บปีกกา - สมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) - สมาชิกที่ซ้ำกันให้เขียนเพียงตัวเดียว - กรณีจำนวนสมาชิกมาก ๆ ให้เขียนสมาชิกอย่างน้อย 3 ตัวแรก แล้วใช้จุด 3 จุด แล้วจึงเขียนสมาชิก ตัวสุดท้าย หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 2. วิธีบอกเงื่อนไขของสมาชิก หลักการเขียนมีดังนี้ - เขียนเซตด้วยวงเล็บปีกกา - กำหนดตัวแปรแทนสมาชิกทั้งหมดตามด้วยเครื่องหมาย | อ่านว่า “โดยที่”) แล้วตามด้วยเงื่อนไขของตัวแปรนั้น ดังรูปแบบ {X | เงื่อนไขของ X} หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
4. ตรรกะกับการแก้โจทย์ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ คือ การนำขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดขอบเขตของปัญหา ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อแก้ปัญหา ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบโปรแกรม มาประยุกต์ใช้เพื่อให้นักเรียนได้รับการฝึกฝนให้มีกระบวนการ แก้ปัญหาโจทย์ทางคอมพิวเตอร์อย่างมีระบบด้วยการวิเคราะห์และออกแบบเพื่อนำไปพัฒนา หรือเขียนโปรแกรมภาษาต่อไป หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
5.หลักเกณฑ์การแก้ปัญหาโจทย์ด้วยคอมพิวเตอร์ มี 5 ข้อ คือ 1. สิ่งที่โจทย์ต้องการ 2. รูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. ข้อมูลนำเข้า 4. ตัวแปรที่ใช้ 5. วิธีการประมวลผล หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) จบการนำเสนอ บทที่ ขั้นตอนวิธีวิเคราะห์ปัญหาการเขียนโปรแกรม หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)