CHAPTER 6 Mathematical Functions and Date/Time Functions.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Advertisements

วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
เครื่องคิดเลข การใช้ SHARP EL -506 W
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
ครั้งที่ 8 Function.
WEB APPLICATIONS DEVELOPMENT Chap 11 : การสร้างช่องรับข้อมูล 1.
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
โดย ศศิธร อารยะพูนพงศ์ สำนักคอมพิวเตอร์
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
การสร้าง Random ตัวเลขซ้ำและไม่ซ้ำ การเรียกดูไฟล์ในโฟลเดอร์ Function
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
C Programming Lecture no. 6: Function.
CHAPTER 1 Major Sources of Errors in Numerical Methods
Introduction to Digital System
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การใช้สูตร Excel x ให้พิมพ์ใน cell ว่า =5.7*1E+6
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
การแสดงข้อความ echo - echo “Hello”; // Hello - $text = “ World”;
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
เรื่อง การซ่อน - แสดงคอลัมน์ / แถว จัดทำโดย ด. ช. พงศ์วริศ ชาติชะนา ชั้น ม. 2/5 เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การทำงานกับ เลขจำนวน ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
คณิตศาสตร์ และการจัดรูปแบบ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
บทที่ 9 การทำงานกับเลข จำนวน. เลขจำนวนเต็ม $a = 1234;// รูปแบบ เลขฐานสิบ $b = -123;// รูปแบบเลขฐานสิบ $c = 0123;// รูปแบบเลขฐาน แปด $d = 0x1A;// รูปแบบ.
การแจกแจงปกติ.
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
รายละเอียดของ Print Screen หน้าจอสังเกตการณ์ ของคณะกรรมการประกวดราคา (โปรแกรม CAT e-auction โลโก้ใหม่)
การประชุมชี้แจงการสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556
Week 2 Variables.
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
CHAPTER 4 Control Statements
CHAPTER 3 System Variables and Array
การทำงานกับวัน/เวลา ในภาษา php
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
PHP: [7] ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับ วัน/เวลา
Week 11 Basic Programs 2.
จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี
CHAPTER 7 String Functions and Regular Expression
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
ฟังก์ชันเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์. เนื้อหา คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเรียกใช้งานเมท็อดทาง.
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
CHAPTER 2 Operators.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
คำสั่งเงื่อนไขและการใช้คำสั่งจัดการฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CHAPTER 6 Mathematical Functions and Date/Time Functions

2 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Agenda ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันที่และเวลา

3 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใช้สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่งมีอยู่หลาย ฟังก์ชัน ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ sin( ) หาค่า sin ทางตรีโกณมิติของมุมที่ต้องการ cos ( ) หาค่า cosine ทางตรีโกณมิติของมุมที่ต้องการ tan ( ) หาค่า tangent ทางตรีโกณมิติของมุมที่ต้องการ acos( ) หาค่า arc cosine ทางตรีโกณมิติของมุมที่ต้องการ csin( ) หาค่า cosine ทางตรีโกณมิติของมุมที่ต้องการ atan( ) หาค่า arc tangent ทางตรีโกณมิติของมุมที่ต้องการ

4 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ sqrt( ) หาค่ารากที่สองของค่าคงที่หรือตัวแปร (Square Root) abs( ) หาค่า absolute pow( ) หาค่ายกกำลังของค่าคงที่หรือตัวแปร log( ) หาค่า log ฐาน n (Natural Logarithm) ของค่าคงที่หรือ ตัวแปร log10( ) หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร max( ) หาค่าสูงสุด min( ) หาค่าต่ำสุด floor( ) ปัดเศษลง ceil( ) ปัดเศษขึ้น round ( ) ปัดเศษตามปกติ เกิน.5 ปัดขึ้น ต่ำกว่า.5 ปัดลง

5 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ bindec( ) ใช้ในการเปลี่ยนเลขฐาน 2 ให้เป็นฐาน 10 octdec( ) ใช้ในการเปลี่ยนเลขฐาน 8 ให้เป็นฐาน 10 hexdec( ) ใช้ในการเปลี่ยนเลขฐาน 16 ให้เป็นฐาน 10 decbin( ) ใช้ในการเปลี่ยนเลขฐาน 10 ให้เป็นฐาน 2 decoct( ) ใช้ในการเปลี่ยนเลขฐาน 10 ให้เป็นฐาน 8 dechex( ) ใช้ในการเปลี่ยนเลขฐาน 10 ให้เป็นฐาน 16 number_format( ) ใช้ในการกำหนดรูปแบบการแสดงผลของตัวเลข

6 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฟังก์ชัน number_format( ) รูปแบบ number_format(number,decimals,dec_point,thousands_sep); number คือ ค่าคงที่หรือตัวแปรที่นำมากำหนดรูปแบบ decimals คือจำนวนจุดทศนิยมที่ต้องการ dec_point คือ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการกำหนดจุดทศนิยม thosands_sep คือสัญลักษณ์ที่ใช้ในการคั่นหลักพัน

7 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตัวอย่าง <? print sqrt(36); print “ ”; $a = 2.0; $b = 0.0; do { printf ("2 %.0f = %.2f\n ", $b, pow($a,$b)); $b++; }while ($b < 5.0); print max(10, 5, 30, 15, 50, 45, 60); print “ ”; print bindec( ); print “ ”; $total = ; print number_format($total, 2, '.', ','); print “ ”; print number_format($total, 2, '#', '_'); ผลลัพธ์ 6 20 = = = = = , _252#68

8 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฟังก์ชันแสดงวันที่และเวลาปัจจุบัน ใช้สำหรับการนำข้อมูลวันเวลาปัจจุบันในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ในขณะนั้นออกมาแสดงหรือใช้งาน เช่น วันที่สั่งซื้อสินค้า เวลาที่โพสต์ข้อความ เป็นต้น รูปแบบ date(“รูปแบบ”) date(“รูปแบบ”,ข้อมูลวันเวลาtimestamp) รูปแบบ คือรหัสที่กำหนดรูปแบบ date ที่ต้องการ เช่น หากต้องการ แบบ วัน/เดือน/ปี สามารถใส่เป็น d/m/y timestamp คือข้อมูลวันเวลาที่ได้จากคำสั่ง mktime หรือ gmmktime ถ้าไม่กำหนด timestamp จะเป็นการเอาวันเวลาจากปฏิทินและ นาฬิกาในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันที่และเวลา

9 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รหัสรูปแบบ aหน่วยของเวลาแบบตัวพิมพ์เล็ก นั่นคือ "am" หรือ "pm" Aหน่วยของเวลาแบบตัวพิมพ์ใหญ่ นั่นคือ "AM" หรือ "PM" dวันที่ โดยมีศูนย์นำหน้า นั่นคือ "01" ถึง "03" Dชื่อวันในสัปดาห์ เฉพาะตัวอักษร 3 ตัวแรก เช่น "Sun","Mon" ฯลฯ Fชื่อเต็มของเดือน เช่น "January", "Febuary" เป็นต้น gเลขชั่วโมงแบบ 12 ชั่วโมง โดยไม่มีศูนย์นำหน้า นั่นคือ "1" ถึง "12" Gเลขชั่วโมงแบบ 24 ชั่วโมง โดยไม่มีศูนย์นำหน้า นั่นคือ "0" ถึง "23" hเลขชั่วโมงแบบ 12 ชั่วโมง โดยมีศูนย์นำหน้า นั่นคือ "01" ถึง "23" Hเลขชั่วโมงแบบ 24 ชั่วโมง โดยมีศูนย์นำหน้า นั่นคือ "00" ถึง "23"

10 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ iเลขนาที นั่นคือ "00" ถึง "59" jวันที่ โดยไม่มีศูนย์นำหน้า นั่นคือ "1" ถึง "31" lชื่อเต็มของวันในสัปดาห์ เช่น "Sunday", "Monday" เป็นต้น L ค่าตรรกะที่แสดงว่าเดือนกุมภาพันธ์ของปีที่ระบุมี 29 วันหรือไม่ โดย "1" หมายถึง มี 29 วัน, "0" หมายถึงมี 28 วัน mหมายเลขของเดือน โดยมี 0 นำหน้า นั่นคือ "01" ถึง "12" Mชื่อเดือน เฉพาะตัวอักษร 3 ตัวแรก เช่น "Jan", "Feb" เป็นต้น nหมายเลขของเดือน โดยไม่มีศูนย์นำหน้า นั่นคือ "1" ถึง "12" r วัน/เวลาในรูปของ RFC 822 เช่น "Thu, 21 Dec :23: " เป็นต้น (php 4.0 ขึ้นไป) รหัสรูปแบบ

11 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ sเลขวินาที นั่นคือ "00" ถึง "59" S ตัวหนังสือย่อของเลขวันที่ลงท้ายใน ภาษาอังกฤษ เช่นวันที่ ที่ลงท้ายด้วยเลข 1"st" 2."rd" เป็นต้น tจำนวนวันของเดือนคือ 28 และ 31 Tเขตเวลา (timezone) เช่น "MDT", "EST" เป็นต้น Uจำนวนวินาทีทั้งหมดนับตั้งแต่เวลา น. ของวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2513 wหมายเลขของวันในสัปดาห์ นั่นคือ "0" (วันอาทิตย์) ถึง "6" (วันเสาร์) yเลขปีแบบ 2 หลัก เช่น "02" เป็นต้น Yเลขปีแบ 4 หลัก เช่น "2002" เป็นต้น zหมายเลขของวันภายในปี นั่นคือ "0" ถึง "365" รหัสรูปแบบ

12 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตัวอย่าง <? $date = date("วันที่ j เดือนที่ n ปี ค.ศ. Y") ; echo $date ; ?> ผลลัพธ์ วันที่ 1 เดือนที่ 1 ปี ค.ศ. 2008

13 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตัวอย่าง <? echo “ d-m-y = ”,date(“d-m-y”); echo “ d/m/y = ”,date(“d/m/y”); echo “ l,d M y = ”,date(“l,d M y”); echo “ เวลา H:i:s = ”,date(“H:i:s”); echo “ เวลา h: a = ”,date(“h:i a”); ?> ผลลัพธ์ d-m-y = d/m/y = 22/09/07 l,d M y = Saturday, 22 Sep 07 เวลา H:i:s = 15:36:31 เวลา h:i a = 03:36 pm

14 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฟังก์ชันสร้างวันที่และเวลา ใช้สำหรับสร้างข้อมูลวันเวลาโดยสามารถนำเอาค่าวันเวลาแต่ละ ส่วนมาประกอบกัน เช่นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่อยู่ต่างประเทศ หรือ เครื่องเซิร์ฟเวอร์ตั้งอยู่ในเมืองไทย แต่เวลาช้าหรือเร็วไป รูปแบบ mktime(ชม,นาที,วินาที,เดือน,วัน,ปี ค.ศ.) ตัวอย่าง mktime(10,5,2,8,11,2007) ในกรณีที่ต้องการให้เวลาไวขึ้นกว่าเดิม 1 ชม. 6 นาที ให้กำหนดคำสั่ง ดังนี้ mktime(10+1,5+6,2,8,11,2007)

15 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฟังก์ชันรับข้อมูลวันเวลาจากระบบโดยอ้างอิงกับเวลา มาตรฐาน Greenwich Mean Time(GMT) รูปแบบ gmdate(รหัสรูปแบบ) ค่าที่ได้จะเป็นวันเวลาของมาตรฐาน GMT ซึ่งช้ากว่าเวลา ในประเทศไทยประมาณ 7 ชม. (Thai time : GMT )

16 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตัวอย่าง <? $th=mktime(gmdate(“H”)+7,gmdate(“i”),gmdate(“m”),gmdate(“d”),gmdate(“Y”); $format=“d/m/y H:i a”; $str=date($format,$th); echo “ วันเวลาขณะนี้ : $str ”) $th=mktime(gmdate(“H”)+7,gmdate(“i”)+5,gmdate(“m”),gmdate(“d”),gmdate(“Y”); $str=date($format,$th); echo “ ถัดไปอีก 5 นาที : $str ”) $th=mktime(gmdate(“H”)+7,gmdate(“i”),gmdate(“m”),gmdate(“d”)+9,gmdate(“Y”); $str=date($format,$th); echo “ ถัดไปอีก 9 วัน : $str ”) $th=mktime(gmdate(“H”)+7,gmdate(“i”),gmdate(“m”)+1,gmdate(“d”),gmdate(“Y”); $str=date($format,$th); echo “ ถัดไปอีก 1 เดือน : $str ”); ?> ผลลัพธ์ วันเวลาขณะนี้ : 22/09/07 14:16 pm ถัดไปอีก 5 นาที : 22/09/07 14:21 pmวัน ถัดไปอีก 9 วัน : 22/09/07 14:16 pm ถัดไปอีก 1 เดือน : 22/09/07 14:16 pm

17 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฟังก์ชันรับค่าวันและเวลาปัจจุบัน ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้แสดงผลของวันเวลาเช่นเดียวกับฟังก์ชั่น date() แต่จะแตกต่างกันตรงที่ ฟังก์ชั่น getdate() จะส่ง ค่าของวันหรือเวลามากับอินเด็กซ์ต่างๆของอาร์เรย์ ซึ่งมี อินเด็กซ์ต่างๆ ฟังก์ชัน time() เป็นฟังก์ชั่นที่ส่ง timestamp ของวัน/เวลาปัจจุบันใน เครื่องกลับมาให้ ซึ่งฟังก์ชั่น time() นี้จะให้ค่าเป็นหน่วย ของวินาที

18 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อินเด็กซ์ของอาร์เรย์ที่ใช้กับฟังก์ชัน getdate() "seconds"เวลาในส่วนของวินาที "minutes"เวลาในส่วนของนาที "hours"เวลาในส่วนของชั่วโมง "mday"วันที่ "wday"วันในสัปดาห์ ตั้งแต่ 0 (วันอาทิตย์) ถึง 6 (วันเสาร์) "mon"หมายเลขเดือน "year"ปี "yday"หมายเลขของวันภายในปี "weekday"ชื่อเต็มของวันในสัปดาห์ "month"ชื่อเต็มของเดือน

19 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตัวอย่าง <? day = getdate(); echo $day['year']." " ; echo $day['month'] ; ?> ผลลัพธ์ 2007 October