การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ดิน(Soil).
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
การเจริญเติบโตของพืช
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
คำถามทบทวนวิชา
What is the optimum stocking rate ?
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ข้อมูลผลผลิตของสบู่ดำ
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหาร ประเภทข้าวเกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป ภายหลังเติมน้ำสกัด ชีวภาพ BE.
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
เครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
การเจริญเติบโตของพืช
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
หญ้าแฝกพืชมหัศจรรย์ นำเสนอโดย กลุ่มสัตว์ปีก.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
การปลูกและดูแลปาล์มน้ำมันในภาคอีสาน
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน

ความสำคัญ ปาล์มน้ำมันนับได้ว่าเป็นพืชยืนต้นเศรษฐกิจที่สำคัญของภาคใต้ ในระยะไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันได้ขยายตัวอย่างมาก ในปี 2513 มีพื้นที่เพาะปลูก 13,157 ไร่ และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ประมาณว่าในปี 2532 มีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันทั้งสิ้นประมาณ 854,000 จนปัจจุบัน(พศ. 2544) มีพื้นที่ปลูกโดยประมาณ 1.80 ล้านไร่ จังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดคือ จังหวัดกระบี่ รองลงมาคือสุราษฏร์ธานี ชุมพร สตูล ตรัง และอื่นๆ

ลักษณะพันธุ์ปาล์มน้ำมัน พันธุ์ดูรา (Dura) เป็นพันธุ์ที่มีกะลาหนาประมาณ 2-8 มม. มักใช้เป็นต้นแม่สำหรับปรับปรุงพันธุ์เพื่อผลิตลูกผสมเป็นการค้า พันธุ์ฟิสิเฟอรา (Pisifera) เป็นพันธุ์ที่มีกะลาบางมาก หรือบางครั้งไม่มีกะลาใช้พันธุ์ ฟิสิเฟอราเป็นต้นพ่อสำหรับผลิตพันธุ์ ลูกผสม พันธุ์เทเนอรา (Tenera) เป็นลูกผสมระหว่างพันธุ์แม่ดูราและพันธุ์พ่อฟิสิเฟอรา นิยมปลูกเป็นการค้าในปัจจุบัน

สภาพดินฟ้าอากาศและภูมิอากาศ อุณหภูมิ เฉลี่ยต้องไม่เกิน 29 - 30o c. แต่ไม่ต่ำกว่า 22 - 24o C. ปริมาณน้ำฝน ที่เหมาะสมควรมีมากกว่า 2,000 มม. ต่อปี มีการกระจายตัวของน้ำฝนสม่ำเสมอ เดือนที่มีฝนตกน้อยที่สุดไม่ควรต่ำกว่า 100 มม. ปริมาณแสง 1,500-2,000 ชม.ต่อปี คิดเฉลี่ยความ ต้องการต่อวันประมาณ 5-6 ชั่วโมง ความชื้น เฉลี่ยในรอบปีสูงกว่า 75% ลักษณะดิน ควรเป็นดินร่วนหรือเหนียว ความลึกของชั้นหน้าดินมากกว่า 75 ซม. ความสามารถในการซึมน้ำปานกลางถึงดี ความลาดชันของพื้นที่ น้อยกว่า 12o ซ.

ขั้นตอนการเพาะกล้าสามารถกระทำได้ 3 วิธีด้วยกันคือ

การเตรียมพื้นที่ การบุกเบิกพื้นที่และการปรับสภาพพื้นที่ การทำถนน และทางระบายน้ำ การวางแนวในการปลูกปาล์มน้ำมัน การปลูกพืชคลุมดิน

พื้นที่ชันต้องทำขั้นบรรได พื้นที่ ลุ่มมีน้ำขังต้องยกร่อง พื้นที่ นาขุดคู พื้นที่ นายกร่อง พท นายกร่อง

การช่วยผสมเกสร (Assisted pollination) ช่อดอกตัวผู้และช่อดอกตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน แต่แยกกันอยู่คนละช่อ ในระยะแรกของการติดผลมีการสร้างช่อดอกน้อย จึงควรช่วยผสมเกสรในระยะแรก วิธีการทำโดย ตัดช่อดอกตัวผู้ที่บานแล้วนำมาเคาะให้ละออง ในวันถัดมาต้องนำละอองเกสรผึ่งแดดให้แห้ง นำละอองเกสรที่แห้งเก็บรักษาใน discator เมื่อจะทำการผสมเกสร จึงนำไปผสมกับผง talcum ในอัตราส่วน ละอองเกสร : ผง talcum 1:5 แล้วนำไปพ่นลงบนช่อดอกตัวเมียที่บานพร้อมรับการผสม ด้วงงวงดอกปาล์มน้ำมัน (Elaeidobius karumericus) ช่วยในการผสมเกสร

การใส่ปุ๋ย ปัจจัยสำคัญที่ควรคำนึงในการใส่ปุ๋ยคือ ความอุดมสมบูรณ์ของดินหรือปริมาณธาตุอาหารที่มีอยู่ในดินนั้น ๆ อายุการเจริญเติบโตหรือความต้องการของปาล์มน้ำมันในระยะต่าง ๆ ชนิดของปุ๋ยและอัตราที่ใช้ รวมไปถึงสภาพแวดล้อมลมฟ้าอากาศบริเวณนั้น มีผู้แนะนำการใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันเมื่ออายุต่าง ๆ กัน โดยทั่วไปคือ ปีที่ สูตรปุ๋ย อัตรา กีเซอร์ไรท์ โบแร๊กซ์ 1 20-15-10 1-5-2 - 2 15-15-20 2-5-3 0.30 50 3 12-10-25 3-5-4 0.50 80 4 10-8-30 4-5-5 0.80 สำหรับปาล์มน้ำมันที่มีอายุตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไปจะใส่ปุ๋ย - แอมโมเนียมซัลเฟตประมาณ 1.75-2.50 กก./ต้น/ปี - ร๊อคฟอสเฟต 1.00-1.50 กก./ต้น/ปี - โปแตสเซียมคลอไรด์ 2.25-2.50 กก./ต้น/ปี

การเก็บเกี่ยว หลังจากเกิดการผสมแล้วอีกประมาณ 5-6 เดือน หรือประมาณ 150 วันผลจะสุกแก่สามารถเก็บเกี่ยว ขณะที่ผลเริ่มเจริญเติบโต ปริมาณน้ำมันก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งผลสุกเต็มที่ ส่วนของแป้งและน้ำตาลเริ่มลดลง ในขณะที่ carotine และไขมันจะเพิ่มขึ้น หากว่าเก็บก่อนผลสุกเต็มที่ ปริมาณน้ำมันสะสมจะน้อย หรือถ้าเก็บเมื่อผลแก่เกินไป คุณภาพของน้ำมันก็ด้อยลงไป ในสภาวะอากาศชุ่มชื้น ควรทำการเก็บเกี่ยวทุก ๆ 7 วัน แต่ถ้าเป็นช่วงอากาศแห้งแล้ง ควรเก็บเกี่ยวทุก 10 วัน หากว่าตัดทะลายแล้วปล่อยทิ้งไว้ หรือการเก็บเกี่ยวผลที่สุกเกินไป น้ำมันในผลจะเปลี่ยนเป็นกรดไขมันอิสระทำให้คุณภาพและราคาลดลง

สมาชิกในกลุ่ม : สัตว์ในนิยาย ชื่อ น.ส. กนิษฐา สุกสี รหัส 5510610001 ชื่อ น.ส. ณัฐทิดา ข้ามเขต รหัส 5510610030 ชื่อ น.ส. ศิริลักษณ์ จันทร์ทอง รหัส 5510610105 ชื่อ นาย จักรรัตน์ พรหมบุตร รหัส 5510610175 ชื่อ น.ส. พรพรรณ พร้อมมูล รหัส 5510610283 Section02

ขอบคุณค่ะ ขอบคุณครับ