ดวงจันทร์ (Moon).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
(Structure of the Earth)
Electromagnetic Wave (EMW)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ระบบสุริยะ (Solar System).
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
โลก (Earth).
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 จักรวาลและอวกาศ
ยูเรนัส (Uranus).
การหักเหของแสง (Refraction)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
วิทยาศาสตร์ Next.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
Facies analysis.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
โลกและสัณฐานของโลก.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดวงจันทร์ (Moon)

ดวงจันทร์เป็นบริวารดวงเดียวของโลก ชาวโรมันเรียกว่า Luna ส่วนชาวกรีกเรียกว่า Selene หรือ Artemis

ดวงจันทร์เป็นที่รู้จักตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นวัตถุที่สว่างมากที่สุดเป็นอันดับสองรองจากดวงอาทิตย์ นักดาราศาสตร์เฝ้าสังเกตดวงจันทร์มาเป็นศตวรรษผ่านกล้องโทรทรรศน์ที่สร้างขึ้นมา จนกระทั่งมาถึงยุคอวกาศที่มนุษย์สามารถไปเดินสำรวจบนดวงจันทร์ได้ ความรู้ที่ได้จากการสำรวจดวงจันทร์ทำให้เข้าใจถึงขบวนการทางธรณีวิทยาและความซับซ้อนของโลก

ดวงจันทร์โคจรรอบโลกใช้เวลา 27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที มีระยะทางห่างจากโลก 384,403 กิโลเมตร ค่ามุมระหว่าง โลก ดวงจันทร์ และ ดวงอาทิตย์ จึงเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ปรากฏบนท้องฟ้าของดวงจันทร์ในแต่ละคืน

แรงดึงดูดระหว่างโลกและดวงจันทร์ทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆที่น่าสนใจมากมาย ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดอันหนึ่งคือ น้ำขึ้นน้ำลง (tide)

แรงดึงดูดที่ไม่สมมาตรเป็นสาเหตุให้การหมุนของดวงจันทร์มีลักษณะเป็น synchronous จึงหันผิวด้านเดียวเข้าหาโลก

ดวงจันทร์เคยเชื่อกันว่าไม่มีบรรยากาศ แต่จากหลักฐานการสำรวจในภายหลังแสดงให้เห็นว่ามีน้ำแข็งอยู่ในส่วนลึกของหลุมอุกาบาตใกล้กับบริเวณขั้วใต้และบริเวณขั้วเหนือ

ดวงจันทร์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3,476 กิโลเมตร ชั้นเปลือกของดวงจันทร์ มีความหนาเฉลี่ยประมาณ 68 กิโลเมตร ในบางบริเวณอาจไม่พบชั้นเปลือกเลย หรือในบางบริเวณอาจมีชั้นเปลือกหนาถึง 107 กิโลเมตร ใต้ชั้นเปลือกเป็นส่วนของ mantle และ อาจมีแกนกลาง (core) อยู่ด้วย ส่วนที่เป็น mantle จะหลอมเพียงบางส่วนเท่านั้น

พื้นผิวของดวงจันทร์ถูกชนด้วยอุกาบาตเป็นจำนวนมาก ทำให้หินที่เป็นเปลือกมีการผสม หลอมและตกจมลงสู่ภายในดวงจันทร์ อุบาบาตที่วิ่งชนดวงจันทร์ได้พาเอาหินแปลกปลอมมากระจัดกระจายอยู่ทั่วพื้นผิว การชนของอุกาบาตยังทำให้หินที่อยู่ในระดับลึก โผล่ขึ้นมาบนพื้นผิวและเศษหินเหล่านี้กระจายไกลออกไปจากแหล่งกำเนิด

การชนของอุกาบาต

เปลือกที่บางและมีรอยแตกเป็นช่องทางให้ลาวาที่อยู่ภายในดวงจันทร์แทรกตัวขึ้นมาบนพื้นผิว การที่ดวงจันทร์ไม่มีบรรยากาศและน้ำ จึงไม่มีกระบวนการผุพังทางเคมีกับส่วนประกอบทั้งหลายที่อยู่บนพื้นผิว ดังนั้นหินซึ่งมีอายุกว่า 4 พันล้านปีจึงยังพบอยู่บนพื้นผิวของดวงจันทร์ ซึ่งเป็นข้อมูลที่สำคัญที่ทำให้เข้าใจถึงประวัติในช่วงแรกของระบบสุริยะ ซึ่งไม่สามารถหาหลักฐานเหล่านี้ได้จากบนพื้นโลก

ตัวอย่างหินและดินที่ถูกนำกลับมายังพื้นโลกมีน้ำหนักรวม 382 กิโลกรัม หินส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 4.6 ถึง 3 พันล้านปี ในขณะที่ตัวอย่างหินที่เก็บได้จากพื้นโลก มีอายุไม่เกิน 3 พันล้านปี ดังนั้นหินที่ได้จากดวงจันทร์จึงเป็นหลักฐานที่สำคัญในการศึกษาการกำเนิดของระบบสุริยะ ซึ่งไม่สามารถหาหลักฐานได้จากหินที่มีอยู่บนพื้นโลก

ทฤษฏีต่างๆที่เชื่อเกี่ยวกับการกำเนิดของ โลก และ ดวงจันทร์ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 แนวทางคือ 1. โลกและดวงจันทร์เกิดขึ้นในเวลาพร้อมกันจาก Solar Nebular 2. ดวงจันทร์แยกตัวออกจากโลก 3. ดวงจันทร์เกิดเป็นดวงดาวและถูกโลกดึงดูดเข้ามาเป็นดาวบริวาร

บนดวงจันทร์ไม่พบสนามแม่เหล็ก แต่หินบางส่วนที่อยู่บนผิวดินแสดงให้เห็นถึงอำนาจแม่เหล็กคงค้างที่เป็นหลักฐานบ่งบอกว่า ในอดีตดวงจันทร์ก็เคยมีสนามแม่เหล็ก