Determinants of Health

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความสุขเปรียบเหมือนผีเสื้อ
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556
เศรษฐกิจพอเพียง.
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ใช้สติอย่างสร้างสรรค์ ชีวิตทุกวันจะปลอดภัย
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
วาตภัย.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
ความหมายของชุมชน (Community)
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ภาคใต้.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ดินถล่ม.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม เรื่อง การป้องกันอุบัติภัย เรื่อง.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
โดย คุณมยุรี ผิว สุวรรณ. สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งกาย จิต ทางปัญญา และ สังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์ รวมอย่างสมดุล สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Determinants of Health กรณีศึกษา ข่าวลือการเกิดสึนามิ ในจังหวัดสงขลาและชายทะลภาคใต้ By Panumas Nontapan

สึนามิ "คลื่นสึนามิ" ในทะเลอันดามัน ครั้งที่รุนแรงมากที่สุดใน ประวัติศาสตร์ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 โดยมีผู้คน เสียชีวิตถึงประมาณ 283,000 คน จังหวัดที่ได้รับผลกระทบคือ ภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล ข่าวลือเรื่องการเกิดสึนามิในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 เกิดขึ้น หลังจาก เหตุการณ์น้ำท่วม จังหวัดสงขลาเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553

วิธีการศึกษา ผู้ศึกษาใช้กรอบคิดการมองสุขภาพใน ความหมายของสุขภาวะ โดยประยุกต์จาก กรอบคิดของ นพ.สุรเกียรติ ซึ่งแสดงผ่าน โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพและปัจจัย กำหนดสุขภาพที่เชื่อมโยงอย่างเป็นองค์รวม มาประกอบการพิจารณาและวิเคราะห์ โดย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทั้ง 4 ด้าน (กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ) คือ บุคคล สิ่งแวดล้อม และ ระบบบริการสาธารณสุข โดยมุ่งเนั้นไปที่ พฤติกรรม ความเชื่อ สภาพจิตใจ ผลกระทบ ทางสังคม และการให้ความรู้ที่ถูกต้องและ ทั่วถึง ซึ่งปัจจัยเหล่านี้แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพและปัจจัย กำหนดสุขภาพที่เชื่อมโยงอย่างเป็นองค์รวม การศึกษาครั้งนี้อาศัยการรวบรวมข้อมูลจาก ข่าวสารที่มีการนำเสนอในสื่อต่าง ๆ ข้อมูล พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสึนามิ และจากการ พูดคุยกับคนในพื้นที่จังหวัดสงขลาและ ใกล้เคียง

ผลการศึกษา สึนามิ (tsunami) เป็นคลื่นขนาดยักษ์ที่เกิดจาก การแทนที่น้ำอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเกิดการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่างทำให้เกิดสึนามิ เช่น ภูเขาไฟระเบิดในทะเล แผ่นดินไหว หรือแผ่นดินถล่มในทะเล และอุกกาบาตหรือดาวหางที่ตกลงในทะเล เป็นคลื่นใต้น้ำ ที่เห็นเป็นเพียงระลอกสูงราว ๓๐ ซม. - ๑ ม. เท่านั้น แต่เมื่อสึนามิเคลื่อนที่เข้าหาฝั่งสู่เขตน้ำตื้น ความเร็วจะลดลง ขณะที่ความสูงของคลื่นกลับยิ่งทวีขึ้น อาจสูงตั้งแต่ ๑๐ เมตรไปจนถึง ๓๐ เมตร ความยาวคลื่นหรือระยะระหว่างสันคลื่นกว่า ๑๐๐ กิโลเมตร ความเร็วถึง ๗๐๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ๒ ประเภท คือ สึนามิเฉพาะบริเวณ และสึนามิข้ามมหาสมุทร

ข่าวลือการเกิดสึนามิในประเทศไทย "สมิทธ"เตือนปชช.อย่าประมาทภัยพิบัติ 22ก.ค. แผ่นดินไหวหลายประเทศบ่งชี้ ลือสนั่น! 12 มิ.ย. 53 สึนามิจะถล่มประจวบฯ หัวหิน ผวา! สึนามิ ซัดถล่ม หลัง น้ำทะเลเปลี่ยนสี – เหือดแห้ง 'สมิทธ-โสรัจจะ' ฟันธง กลางปีเกิดสึนามิ โดนไทยเต็มๆ ข่าวลือสึนามิทำนักท่องเที่ยวผวาหาดสมิหลาเงียบเหงา ผวาสึนามิ! ท่องเที่ยวตรังวูบ ยกเลิกเกือบ 100% เตือนอย่าตื่น! ข่าวลือสึนามิ คนแห่ขึ้นเหนือสัมผัสหนาวคึกคัก ดันรายได้ท่องเที่ยวรวมโตเพิ่ม10% ใต้หงอยตื่นข่าวสึนามิ ! รองอ.กรมสุขภาพจิต เผยสุ่มสำรวจในรอบ5ปี 2หมื่นคน พบอัตราฆ่าตัวเองสูงขึ้นเล็กน้อย ภาคเหนือมากสุด โดย 80% เหตุโรคเรื้อรัง โรคสมองเสื่อมเพิ่ม รมช.สธ.เผยปี 51 ผู้ป่วยสุขภาพจิตกว่า1.6ล้านคน

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแพร่กระจายข่าวลือ ช่องทางการของสื่อที่หลากหลายและรวดเร็ว การส่งต่อข่าวสารอย่างขาดวิจารณญาณ การแสดงความคิดเห็นหรือการทำนายที่ขาด ความสมเหตุสมผล ขาดความรู้ในเรื่องสึนามิ กระบวนการศึกษา เรียนรู้ถึงสาเหตุของการเกิดสึนามิซึ่งเป็น สาเหตุที่ไม่สามารถทำนายได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ การอยู่กับธรรมชาติที่มีความเสี่ยงสูง การโหมของสื่อเพื่อผลประโยชน์ทางการค้า ของตนเอง ความวิตกกังวลจนเกินเหตุ

ปัจจัยกำหนดสุขภาพที่มีต่อสุขภาพจากกรณีศึกษา บุคคล สภาพจิตใจที่อ่อนไหวทั้งผู้ที่เคยประสพภัยสึนามิ และผู้ที่ได้รับทราบถึงอันตรายของสึนามิ ทำให้เกิดความ หวาดกลัว ความวิตกกังวล อันส่งผลต่อสุขภาพจิต โดยตรง ก่อให้เกิดความเครียดจากภัยอันตรายที่อาจะ เกิดต่อร่างกายและทรัพย์สิน ซึ่งส่งผลกระทบไปถึง สุขภาพกาย พฤติกรรม ความสามารถในการทำงาน และ การเข้าสังคม กระบวนการที่ก่อให้เกิดความเชื่อโดยไม่ ผ่านกระบวนการศึกษาเรียนรู้และการพิจารณาเรื่องราว ต่าง ๆ อย่างมีสติ ส่งผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อ สุขภาวะของบุคคล การสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับสึนามิ การเฝ้าระวังและการเตรียมตัวรับมือกับ เหตุการณ์ สิ่งแวดล้อม การอาศัยอยู่ในพื้นที่ริมทะเลและประกอบ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับทะเลเช่นประมง การท่องเที่ยว ย่อม ได้รับผลกระทบจากปรากฎการณ์ธรรมชาติอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งย่อมส่งผล กระทบต่อการสูญเสียชีวิต เจ็บป่วย สุขภาพจิต ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ การเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติอย่าง มีความสุขจึงเป็นหนทางที่จะทำให้ชีวิตดำรงอยู่อย่างมีสุข ภาวะ ระบบการจัดการ การสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้อง การมี ชีวิตอยู่อย่างมีสติ พิจารณาใคร่ครวญข้อมูลข่าวสาร อย่างรอบคอบ ไม่เชื่อในทุกเรื่องที่ได้รับฟังมา

บทสรุป การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยกำหนดสุขภาพกับกรณี ข่าวลือการเกิดสึนามิทำให้เห็น ถึงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ ปัญญาในการรับข้อมูล ข่าวสารอย่างมีสติ นำไปสู่การ เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างมีความสุข ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของทุก คนในการมีชิวิตอยู่อย่างมีสุข ภาวะที่ดี

ประโยชน์ของการศึกษากรณีศึกษาและการนำไปใช้ การสร้างกระบวนการเรียนรู้ ให้กับประชาชน เพื่อให้เกิด ปัญญาในการพิจารณา ไตร่ตรองข้อมูลข่าวสารที่ ได้รับจากสื่อต่าง ๆ และการ เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติ อย่างมีความสุข

สวัสดี