เรื่อง หอยเชอรรี่ กลุ่ม ที่ 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
การเลี้ยงเป็ด รูปแบบการเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
วิวัฒนาการของม้า.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
ฟีโลทอง philodendron sp.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
ด้วงกว่าง.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
Welcome to .. Predator’s Section
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง หอยเชอรรี่ กลุ่ม ที่ 3 นางสาว กมลวรรณ บุตรทรัพย์ เลขที่ 16 นางสาว ชุติมา สินสถาน เลขที่ 20 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3

หลักการและเหตุผล 1.ทำให้รู้วิธีการกำจัดหอยเชอรรี่ 2.เพราะหอยเชอรรี่มีประโยชน์แต่บางคนไม่รู้จักประโยชน์ของหอยเชอรรี่ 3.หอยเชอรรี่มีอยู่ทั่วไปสามารถศึกษาและบอกโทษของหอยเชอรรี่ได้ 4.เพื่อนำความรู้ของหอยเชอรรี่ไปเผยแแพร่เพื่อให้คนได้รู้จักประโยชน์ของหอยเชอรรี่

ประวัติความเป็นมา หอยเชอรี่ หรือ หอยโข่งอเมริกาใต้ หรือ หอยเป๋าฮื้อน้ำจืด (อังกฤษ: Golden applesnail, Channeled applesnail; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pomacea canaliculata) เป็นหอยน้ำจืด หอยเชอรี่ เดิมเป็นหอยน้ำจืดที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยนำเข้ามาครั้งแรกจากประเทศญี่ปุ่นและไต้หวัน ในฐานะของหอยที่กำจัดตะไคร่น้ำและเศษอาหารในตู้ปลา ซึ่งนิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายราวก่อนปี พ.ศ. 2530 ต่อมาได้มีผู้คิดจะเลี้ยงเพาะขยายพันธุ์เป็นสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการบริโภค แต่ทว่าไม่ได้รับความนิยมจึงปล่อยลงแหล่งน้ำธรรมชาติ จนกลายเป็นปัญหาชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในปัจจุบัน

สาระน่ารู้ หอยน้ำจืดจำพวกหอยฝาเดียว สามารถแบ่งหอยเชอรี่ได้ 2 พวก คือ พวกที่มีเปลือกสีเหลืองปนน้ำตาล เนื้อและหนวดสีเหลือง และพวกมีเปลือกสีเขียวเข้มปนดำ และมีสีดำจาง ๆ พาดตามความยาว เนื้อและหนวดสีน้ำตาลอ่อน หอยเชอรี่เจริญเติบโตและขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว ลูกหอยอายุเพียง 2 – 3 เดือน จะจับคู่ผสมพันธุ์ได้ตลอดเวลา หลังจากผสมพันธุ์ได้ 1 – 2 วัน ตัวเมียจะวางไข่ในเวลากลางคืน โดยคลานไปวางไข่ตามที่แห้งเหนือน้ำ เช่น ตามกิ่งไม้ ต้นหญ้าริมน้ำ โคนต้นไม้ริมน้ำ ข้าง ๆ คันนา และตามต้นข้าวในนา ไข่มีสีชมพูเกาะติดกันเป็นกลุ่มยาว 2 – 3 นิ้ว แต่ละกลุ่มประกอบด้วยไข่เป็นฟองเล็ก ๆ เรียงตัวเป็นระเบียบสวยงาม ประมาณ 388 – 3,000 ฟอง ไข่จะฟักออกเป็นตัวหอยภายใน 7 – 12 วัน หลังวางไข่

ชนิดของหอยเชอรรี่ หอยเชอรี่เป็นหอยทากน้ำ (freshwater snail) ชื่อวิทยาศาสตร์ Pomacea canaliculata (Lamarck) บางครั้งเรียกว่าหอยโข่งอเมริกาใต้ หรือเป๋าฮื้อน้ำจืด ชื่อสามัญคือ golden apple snail อยู่ในไฟลัม มอลลัสคา (Mollusca) คลาส แกสโทรโพดา (Gastropoda) อันดับ มีโซกาสโตรโปดา (Mesogastropoda) วงศ์ แอมพูลลาริอิดี้ (Ampullariidae)  ทั่วโลกมีหอยเชอรี่ประมาณ 150 ชนิด มีผู้ศึกษาและรายงานว่า ในประเทศไทยพบหอยเชอรี่ 3 ชนิด คือ Pomacea canaliculata  (Lamarck), P. insularus (Orbigny) และ Pomacea sp. แต่ต่อมาใน พ.ศ. 2547-2548 มีรายงานว่ามีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นแม้ว่าจะมีเปลือกหลายสีก็ตาม   ในประเทศแถบที่เป็นถิ่นกำเนิดของหอยเชอรี่นั้น มีหอยเชอรี่ชนิดต่างๆ เช่น Pomacea paludosa และ P. bridgesi พบในภาคใต้ของสหรัฐอเมริกาและคิวบา  P. doliodes และ P. glauca พบในประเทศสุรินัม  P. urceus พบในเวเนซูเอล่า

ประโยชน์ของหอยเชอรรี่ เนื้อหอยเชอรี่มีโปรตีนสูงถึง 34 - 53 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 1.66 เปอร์เซ็นต์ ใช้ประกอบอาหารได้หลายอย่าง หรือทำน้ำปลาจากเนื้อหอยเชอรี่ ใช้ทำเป็นอาหารสัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ สุกร เป็นต้น เปลือกก็สามารถปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินได้ ตัวหอยทั้งเปลือกถ้านำไปฝังบริเวณทรงพุ่มไม้ผล เมื่อเน่าเปื่อยก็จะเป็นปุ๋ยทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตเร็ว และได้ผลผลิตดีไม่ควรบริโภคเนื้อหอยเชอรี่ในบริเวณที่อยู่ใกล้โรงงานอุตสาหกรรมที่ปล่อยน้ำเสีย หรือบริเวณพื้นที่ที่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

โทษของหอยเชอรรี่ หอยเชอรี่กินพืชที่มีลักษณะนุ่มได้เกือบทุกชนิด เช่น สาหร่าย, ผักบุ้ง, ผักกระเฉด, แหน, ต้นกล้าข้าว, ซากพืชน้ำ และซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยในน้ำ โดยเฉพาะต้นข้าวในระยะกล้าและที่ปักดำใหม่ ๆ ไปจนถึงระยะแตกกอ หอยเชอรี่ จะชอบกินต้นข้าวในระยะกล้าที่มีอายุ ประมาณ 10 วัน มากที่สุด โดยเริ่มกัดส่วนโคนต้นที่อยู่ใต้น้ำเหนือจากพื้นดิน 1 – 1.5 นิ้ว จากนั้นกินส่วนใบที่ลอยน้ำจนหมด ใช้เวลากินทั้งต้นทั้งใบ นานประมาณ 1-2 นาที

การป้องกันและการกำจัดหอยเชอรรี่ การจัดเก็บทำลาย เมื่อพบตัวหอยและไข่ ให้เก็บทำลายทันที การดักและกั้น ตามทางน้ำผ่าน ให้ใช้สิ่งกีดขวางตาข่าย เฝือก ภาชนะดักปลา ดักจับหอยเชอรี่ลูกหอยที่ฟักใหม่ ๆ สามารถลอยน้ำได้ ควรใช้ตาข่ายถี่ ๆ กั้นขณะสูบน้ำเข้านาข้าว หรือกั้นบริเวณทางน้ำไหล การใช้ไม้หลักปักในนาข้าว การล่อให้หอยมาวางไข่ โดยใช้หลักปักในที่ลุ่มหรือทางที่หอยผ่าน เมื่อหอยเข้ามาวางไข่ตามหลักที่ปักไว้ ทำให้ง่ายต่อการเก็บไข่หอยไปทำลาย การใช้เหยื่อล่อ พืชทุกชนิด ใช้เป็นเหยือล่อหอยเชอรี่ได้ หอยจะเข้ามากินและหลบซ่อนตัว พืชที่หอยชอบกิน เช่น ใบผัก ใบมันเทศ ใบมันสำปะหลัง ใบมะละกอ หรือพืชอื่น ๆ ที่มียางขาวคล้ายน้ำนม

ภาพประกอบ

แหล่งที่มา http://th.wikipedia.org/wiki บ้านวังทอง