การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
การถนอมอาหาร.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
การปลูกพืชกลับหัว.
โรคอุจจาระร่วง.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
กิจกรรมเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)

ขั้นตอนการเลี้ยงมี 4 ขั้นตอน 1. การจัดเตรียมบ่อ ขุดบ่อขนาดกว้าง 2 เมตร ลึก 1 เมตร ก้น 1 เมตร จัดทำขอบบ่อให้มีระดับเดียวกัน ปูผ้าพลาสติกสีดำกันน้ำซึม

2. การปรับสภาพน้ำในบ่อปลา เปิดน้ำใส่บ่อจนเต็มจากนั้นใส่จุลินทรีย์ EM จำนวน 1 ลิตร ผสมกากน้ำตาล 1 กิโลกรัม และแร่แม๊กนีเซียม จำนวน 3 กิโลกรัม ทิ้งไว้ 5 – 7 วัน เพื่อเป็นการปรับสภาพน้ำและ ลดการเน่าเสียของน้ำ จากนั้นก็ปล่อยปลาลงเลี้ยงได

3. ปลาดุกที่เลี้ยงใช้ พันธุ์บิ๊กอุย ขนาดยาว 5 – 7 ซม 3. ปลาดุกที่เลี้ยงใช้ พันธุ์บิ๊กอุย ขนาดยาว 5 – 7 ซม. จำนวน 1,000 – 2,0000 ตัว เลี้ยงประมาณ 2 – 3 เดือน ก็สามารถจับบริโภคได้

4. การทำอาหารปลาดุก วิธีทำ ส่วนผสม 1. รำละเอียด 2 กระสอบปุ๋ย 2. กากมะพร้าว 1 กระสอบปุ๋ย 3. ปลาป่น 6 กิโลกรัม 4. กากถั่วเหลือง 6 กิโลกรัม 5. จุลินทรีย์ EM 1 ลิตร 6. กากน้ำตาล 1 กิโลกรัม 7. น้ำมันพืช 1 – 2 ลิตร วิธีทำ 1. นำส่วนผสมข้อ 1 1 กระสอบ ข้อ 2,3,4 คลุกให้เข้ากัน 2. นำส่วนผสม ข้อ 5,6 ผสมน้ำ 20 ลิตร เพื่อคลุกเคล้าส่วนผสม ข้อ 1 หมักไว้ 12 ชั่วโมง 3. นำส่วนผสมที่หมักไว้ในข้อ 1,2 ผสมกับรำละเอียด 1 กระสอบและน้ำมันพืช 1 – 2 ลิตร คลุกเคล้านำเข้าเครื่องอัดเม็ดผึ่งแดด 2 วัน เก็บไว้ได้ 2 เดือน

เกร็ดความรู้ 1. การซื้อพันธุ์ปลาก่อนการเคลื่อนย้ายให้ปลาอดอาหาร 1 – 2 วัน เพื่อป้องกันปลาดิ้นและ ทำให้ปลาไส้ขาดเวลาเลี้ยงปลาจะไม่โต 2. การเคลื่อนย้ายปลาให้เตรียม น้ำมันพืช 30 ซีซี : เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ คนให้เข้ากันตักใส่ใน ถุงหรือที่มีพันธุ์ปลา อยู่ประมาณ 1 ช้อนชา เพื่อป้องกันปลาบาดเจ็บ 3. การป้องกันปลาหนีจากบ่อเวลาฝนตก ใช่วิธีหากมีฝนตกให้หว่านอาหารให้ปลากิน สัก 2 – 3 ครั้ง เพื่อหลอกว่าเวลาฝนตกจะได้กินอาหารแล้วปลาจะไม่หนี 4. การเปลี่ยนถ่ายน้ำให้ดูดน้ำออก 1 ส่วน ใน 3 ส่วน และนำน้ำที่ใส่ใหม่ให้ทำเป็นละอองฝอยโดยใช้สายยางเพื่อเพิ่มออกซิเจนให้แก่ปลา 5. การจับปลาเพื่อบริโภคโดยใช้วิธีใช้สายยางฉีดน้ำเหมือนกับฝนตกปลาจะเล่นน้ำจากนั้นใช้สวิงตักปลา ที่เล่นน้ำทันที ปลาจะไม่รู้สึกถึงอันตรายและจะกินอาหารต่อและไม่หนี้

การเลือกสถานที่สร้างบ่อ อยู่ใกล้บ้าน อยู่ที่ร่มหรือมีหลังคา มีแหล่งน้ำสำหรับการเปลี่ยนถ่ายน้ำได้สะดวก

การสร้างบ่อ วิธีที่ 1 ขุดลงไปในดิน การสร้างบ่อ วิธีที่ 1 ขุดลงไปในดิน

วิธีที่ 2 ยกคันบ่อขึ้น

การสร้างบ่อ

การเตรียมน้ำ น้ำบาดาล น้ำบ่อ น้ำในแหล่งน้ำลำคลองสามารถใช้เลี้ยงปลาได้ น้ำประปาต้องทิ้งน้ำไว้ 3 วัน ก่อนถึงจะนำมาเลี้ยงปลาได้

การเลี้ยง 1. ขนาดปลาที่จะนำมาเลี้ยง ปลาที่เริ่มเลี้ยงยาวตั้งแต่ 1.5 นิ้วขึ้นไป ไม่ควรนำปลามาเลี้ยงในฤดูหนาวเพราะปลามีความต้านทานต่อโรคต่ำ 2. อัตราการเลี้ยง ปล่อยลูกปลาในอัตรา 50 – 70 ตัว/ตารางเมตร 3. การปล่อยปลา แช่ถุงลูกปลาไว้ในบ่อเลี้ยง 30 นาที จึงค่อยๆ ปล่อยลงบ่อ ช่วงแรกที่ปล่อย ให้เติมน้ำลงบ่อมีความสูงประมาณ 10 ซม.แล้วค่อยเพิ่มระดับน้ำขึ้นไปเรื่อยๆ ทุกๆ อาทิตย์ จนมีระดับสูงสุด 30-50 ซม.

การดูแลรักษา หลังคาบัง แดด ฝน

การให้อาหารปลา เริ่มแรกให้อาหารเม็ดเล็กและบุบพอแตกสำหรับปลาเล็ก อาหารสดพวกเศษเนื้อ สับให้ปลากินได้ ตัวปลวก แมลงเม่าและแมลงอื่น ๆ โปรยให้ปลากิน ให้อาหารเป็นเวลา วันละ 2 มื้อ เช้า - เย็น

การถ่ายเทน้ำ ทำการเปลี่ยนถ่ายน้ำเมื่อน้ำเริ่มเสีย ไม่ควรถ่ายน้ำออกหมด เหลือน้ำเก่าไว้ 2/3 เปลี่ยนถ่ายน้ำหลังให้อาหารแล้วไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง น้ำที่ถ่ายออกสามารถนำไปรดพืชผักได้

การใช้ประโยชน์พื้นที่รอบบ่อ ปลูกพืชผักสวนครัวรอบๆ บ่อพลาสติก การใช้ประโยชน์พื้นที่รอบบ่อ ปลูกพืชผักสวนครัวรอบๆ บ่อพลาสติก

ต้นทุน ค่าพลาสติกปูพื้นบ่อ (PVC # 3.5x 6 ม.) 500 บาท ค่าอาหารเม็ด (เลี้ยงนาน 3 เดือน #30 กก. ) 500 บาท ค่าพันธุ์ปลาดุก (ขนาด 1 นิ้ว 500 ตัว) 500 บาท รวมทั้งสิ้น ประมาณ 1,500 บาท

การจับปลา เลี้ยง 3-4 เดือน ได้ปลาขนาด 100-200 กรัม/ตัว อัตรารอดประมาณ 80-90 % ได้ผลผลิตปลา ประมาณ 30-50 กก/บ่อ คิดเป็นมูลค่า (กก. ละ 30 บาท) 900-1,500 บาท