โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
Thailand Research Expo
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
Management of Pulmonary Tuberculosis
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
Myasthenia Gravis.
โรคคอตีบ (Diphtheria)
Tuberculosis วัณโรค.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การชักและหอบ.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
Tonsillits Pharynngitis
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
COPD Asthma Clinic รพ.นครพนม
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
Scrub typhus.
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD) นิยาม โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หรือ COPD (Chronic Obstructive Pulmonary Disease) เป็นโรคที่มีลักษณะ airflow limitation แบบ Progresssive และ not fully reversible ส่วนใหญ่เป็นผลจากการระคายเคืองต่อปอดจากฝุ่นและก๊าช ที่สำคัญที่สุด คือ ควันบุหรี่ โดยทั่วไปมักหมายรวมถึงโรค 2 โรค คือ chronic bronchitis และ pulmonary emphysema

Chronic bronchitis โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง เป็นชื่อ โรคที่นิยามจากอาการทางคลินิก กล่าวคือผู้ป่วยมีอาการเรื้อรังมีเสมหะโดยมีอาการเป็นๆหายๆ ปีละอย่างน้อย 3 เดือน และเป็นติดต่อกันอย่างน้อย 2 ปี โดยมิได้เกิดจากสาเหตุอื่น Pulmonary emphysema หรือ โรคถุงลมโป่งพองหลอดลมที่มีถุงลม (respiratory bronchiole)โดยมีการขยายตัวโป่งพองอย่างถาวร ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักพบโรคทั้งสองชนิดดังกล่าวอยู่ร่วมกัน และแยกออกจากกันได้

พยาธิสรีรวิทยา (Pathophysiology) การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาของปอด นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในผู้ป่วย ดังนี้ 1. การสร้าง mucus มากกว่าปกติ ร่วมกับการทำงานของcillia ทีผิดหน้าที่ไป ทำให้ผู้ป่วยไอเรื้อรังมีเสมหะ ซึ่งอาจเป็นอาการนำ ของโรคก่อน ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาอื่นๆ 2. การตีบของหลอดลมร่วมกับการสูญเสีย elastic recoil ของเนื้อปอดทำให้เกิด airflow limitation และ air trapping

3 การตีบของหลอดลม การทำลายของเนื้อปอด และ หลอดเลือด จะรบกวนแลกเปลี่ยนก๊าช ทำให้เกิดภาวะ hypoxemia และhypercapnia ตามมา ซึ่งอาจทำให้เกิด Pumonary hypertension และ cor pulmonale ในที่สุด

การรักษาขณะมีการกำเริบของโรค(acute exacerbation) กลุ่มที่มีอาการรุนแรงมาก ผู้ป่วยที่มีอาการทางคลินิกดังนี้ มีการใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ (accessory muscle)มากขึ้น หรือมีอาการของกล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรง เช่น resiratory paradoxหรือ respiatory alternans 2. ชีพจรมากกว่า 120 ครั้ง/นาที หรือมีhemodynamic instability 3. Peak expiratory flow น้อยกว่า 100 ลิตร/ นาที 4. SpO2 น้อยกว่า 90 % หรือ PaO2 น้อยกว่า 60 มมปรอท 5. PaCO2 มากกว่า 45 มม. ปรอท และ Ph น้อยกว่า 7.35 6.ซึม สับสน หรือหมดสติ 7.มีอาการแสดงของหัวใจข้างขวาล้มเหลวที่เกิดขึ้นใหม่ เช่น ขาบวม

อาการรุนแรงมากควรรับไว้รักษาในโรงพยาบาล 1 การให้ออกซิเจนแบบควบคุม ปรับอัตรไหลของO2 เพื่อให้ได้ระดับ SaO2 หรือ SpO2 90-92% 2 ยาขยายหลอดลม ใช้B2 – agonist หรือB2 – agonist ร่วมกับ anticholinergic เป็นยาขั้นต้น โดยให้ผ่านทาง metered dose inhaler ร่วมกับ specer 4-6 puff 3 คอร์ติโคสเตียรอยด์ ให้ในรูปของยาฉีด hydrocortisoneขนาด 100- 200 มก หรือdexamethasone 5-10 มก.เข้าหลอดเลือดดำ ทุก 6 ชม หรือ ยารับประทาน prednisolone 30-40 มก/วันจนครบเวลารวม 10-14 วัน 4 ยาต้านจุลชีพ พิจารณาให้ทุกราย เช่น beta- lactam/beta-lactamase inhibitor หรือ fluroquinolone

กลุ่มที่มีอาการรุนแรงน้อย (ผู้ป่วยนอก) การรักษาคือเพิ่มขนาดและความถี่ของยาขยายหลอดลมชนิดสูด สำหรับคอร์ติโคสเตียรอยด์ พิจารณาให้เป็นรายๆโดยให้เป็น prednisolone ขนาด 20-30 มก/วัน นาน 5-7 วัน ส่วนยาต้านจุลชีพพิจารณาให้ในรายที่มีเสมหะเปลี่ยนสีหรือมีไข้ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการกำเริบไม่บ่อย ยาต้านจุลชีพที่แนะนำให้ใช้ได้แก่ amoxicillin, betalacta/ beta-lactamase inhibitor , maceolide, หรือ doxycycline ฯลฯ

ยาที่ใช้ในการรักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง กลุ่มยา ชื่อสามัญ ระยะเวลาการออกฤทธิ์ (ชั่วโมง) 1.ยาขยายหลอดลม 1.1B2-agonist 1.1.1 ชนิดออกฤทธิ์สั้น ชนิดรับประทาน . Salbutamal . Terbutaline . Procaterol ชนิดสูด .salbutamal .terbutaline .procaterol .fenoterol . 4-6 . 8-12 . 6-8

กลุ่มยา ชื่อสามัญ ระยะเวลาการออกฤทธิ์ 1.1.2 ชนิดออกฤทธิ์ยาว ชนิดสูด .salmeterol .formotreol เป็นต้น . 12+