สนามไฟฟ้าและแรงทางไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
การวิเคราะห์ความเร็ว
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
แรงไฟฟ้า และ สนามไฟฟ้า
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
Electric force and Electric field
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Equilibrium of a Particle
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
Magnetic Particle Testing
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พันธะเคมี.
สนามไฟฟ้าและแรงทางไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สนามไฟฟ้าและแรงทางไฟฟ้า 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II ภุชงค์ กิจอำนาจสุข 14 มกราคม 2558

ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) “ประจุ” คือสมมบัติพื้นฐานในระดับ หน่วยย่อยของอะตอม ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประจุ: ประจุมี 2 ชนิด: “บวก” (โปรตอน) และ “ลบ” (อิเล็กตรอน) ประจุชนิดเดียวกัน “ผลักกัน” ประจุต่างชนิดกัน “ดึงดูดกัน” ประจุมีลักษณะคล้ายของไหลนั้นคือ มี 2 สถานะ “สถิตย์” (STATIC) หรือ “พลศาสตร์” (DYNAMIC)

ประจุ - สมบัติเฉพาะ Some important constants: Particle Charge Mass สัญลักษณ์ คือ “q” หน่วย คือ คูลอมบ์ (C) ตาม “Charles Coulomb” หากกล่าวถึงประจุอิสระ 1 อนุภาค เช่น อิเล็กตรอน 1 ตัว หรือ โปรตอน 1 ตัว จะหมายถึงประจุของอนุภาคมูลฐาน อาจใช้สัญลักษณ์ e แทน Some important constants: Particle Charge Mass Proton 1.6x10-19 C 1.67 x10-27 kg Electron 9.11 x10-31 kg Neutron

ประจุ เป็น “ปริมาณอนุรักษ์” ประจุไม่สามารถสร้างใหม่ หรือ ทำลายได้ แต่สามารถส่งผ่านจากวัตถุหนึ่งไปยังวัตถุอื่นได้แม้ว่าประจุ 2 ประจุ ที่ถูกดูดเข้าหากันในขณะเริ่มต้น และผลักออกจากกันหลังจากสัมผัสกันแล้ว สังเกตุว่าประจุสุทธิมีค่าเท่าเดิมเสมอ

ตัวนำและฉนวน การแคลื่อนที่ของประจุจะถูกจำกัดโดยตัวกลางที่ประจุนั้นเคลื่อนที่ผ่าน โดยทั่วไปแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท ตัวนำ (Conductors): ยอมให้ประจุผ่านได้อย่างง่ายดาย ฉนวน (Insulators): ประจุไม่สามารถผ่านได้ Conductor = ลวดทองแดง Insulator = ปลอกหุ้มพลาสติก

การอัดและคายประจุ (Charging and discharging) โดยทั่วไปไป มี 2 วิธีในการสร้างประจุบนวัตถุใดๆ ใช้การเสียดสี (friction) การเหนี่ยวนำ (Induction) “BIONIC is the first-ever ionic formula mascara. BIONIC มีโพลิเมอร์ประจุบวก แรงเสียดทานขณะปัดขนตา จะทำให้ขนตามมีประจุลบดึงดูดกับโพลิเมอร์ประจุบวกใน มาสคาร่า ทำให้เกิดแรงยึดติดได้ตลอดวัน

การเหนี่ยวนำและกราวนด์ วิธีที่สอง ในการสร้างประจุไฟฟ้าบนวัตถุคือ การเหนี่ยวนำ โดยไม่มีการสัมผัสโดยตรง We bring a negatively charged rod near a neutral sphere. The protons in the sphere localize near the rod, while the electrons are repelled to the other side of the sphere. A wire can then be brought in contact with the negative side and allowed to touch the GROUND. The electrons will always move towards a more massive objects to increase separation from other electrons, leaving a NET positive sphere behind.

แรงทางไฟฟ้า แรงทางไฟฟ้าระหว่างวัตถุมีรูปสมการคล้ายกับแรงดึงดูดโน้มถ่วงของวัตถุ

แรงไฟฟ้าและกฏของนิวตัน สนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้า สัมพันธ์ กับกฏของนิวตัน Example: อิเล็กตรอนปล่อยเหนือผิวโลกโดยมีอิเล็กตรอนอีหนึ่งตัวอยู่ในแนวตรงส่ง แรงไฟฟ้าสถิตย์ ต่ออิเล็กตรอนตัวแรกต้วยแรงมากพอที่จะหักล้างกับ แรงโน้มถ่วง พอดี ระยะห่างระหว่างอิเล็กตรอนตัวแรกและตัวที่สองมีค่าเท่าใด 𝐹 𝑁𝑒𝑡 = 𝐹 𝑒 = 𝐹 𝑔 𝑚𝑔=𝑘 𝑞𝑄 𝑟 2 =𝑚𝑎 𝐹 𝐸 =𝑚𝑔 𝑘 𝑞 1 𝑞 2 𝑟 2 =𝑚𝑔→𝑟= 𝑘 𝑞 1 𝑞 2 𝑚𝑔 𝑟= (8.99× 10 9 ) (1.6× 10 −19 ) (9.11× 10 −31 )(9.8) 𝑟= Fe e mg r = ? 5.1 m e

เวกเตอร์ของแรงทางไฟฟ้า สนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้า เป็น ปริมาณ “เวกเตอร์” ดังนั้นต้องคำนวณโดยคำนึงถึงขนาดและทิศทางเสมอ พิจารณาประจุ 3 ตัว, q1 = 6.00 x10-9 C (อยู่ที่จุดกำเนิด), q3 = 5.00x10-9 C, และ q2 = -2.00x10-9 C อยู่ที่มุมของรูปสามเหลี่ยม. q2 อยู่ที่ระยะ y= 3 m ขณะที่ q3 อยู่ที่ระยะ 4m ไปทางขวาของประจุ q2 หา แรงลัพธ์ ที่กระทำต่อ q3. ประจุ q2 ผลัก q3 ไปในทิศใด? ประจุ q1 ผลัก q3ไปในทิศใด? 4m q2 q3 3m F31 5m q q1 F32 q = 37 q3 q= tan-1(3/4)

ตัวอย่าง (ต่อ) 64.3 เหนือแกน +x 4m Type equation here. q2 q3 3m 5m F31 q= tan-1(3/4) q1 F31sin37 F32 q = 37 q3 F31cos37 𝐹 32 = 8.99× 10 9 5.0× 10 −9 2.0× 10 −9 4.0 2 𝐹 32 = 5.6 x10-9 N 7.34x10-9 N 𝐹 31 = 8.99× 10 9 6.0× 10 −9 5.0× 10 −9 5.0 2 𝐹 31 = 1.1x10-8 N 64.3 เหนือแกน +x

Electric Fields   หากวางประจุที่สอง (ประจุทดสอบ) ใกล้ประจุบวก ประจุ เคลื่อนที่ออก หากวางประจุทดสอบตัวเดิม ใกล้ประจุลบ ประจุ เคลื่อนที่เข้า

สนามไฟฟ้าและกฏของนิวตัน พิจารณาสมการของ สนามไฟฟ้า อีกครั้ง สัญลักษณ์ที่แทนสมการของ น้ำหนัก จะเหมือนกับกฏของคูลอมบ์ 𝐹 𝑔 =𝐺 𝑚𝑀 𝑟 2 , 𝐹 𝑒 =𝑘 𝑞𝑄 𝑟 2 𝐹 𝑔 𝑚 =𝑔, 𝐹 𝑒 𝑞 =𝐸 สัญลักษณ์ที่แทนสนามไฟฟ้า “E” ซึ่งนิยามเป็นแรงต่อหน่วยประจุ จึงมีหน่วยเป็น นัวตันต่อคูลอมบ์, N/C. หมายเหตุ: สมการด้านบนช่วยในการหา ขนาด ของสนามหรือแรง เท่านั้น ทิศทางต้องพิจารณาเพิมเติมจาก ชนิดของประจุ ตัวแปร “q” ในสมการหมายถึง “ประจุทดสอบ”

ตัวอย่าง อิเล็กตรอนและโปรตอนวางอยู่นิ่งๆ ภายใต้สนามภายนอกขนาด 520 N/C คำนวณหาความเร็วของแต่ละอนุภาคเมื่อเวลาผ่านไป 48 ns 𝑬= 𝑭 𝑬 𝑞 → 520 N C = 𝑭 𝑬 1.6× 10 −19 C สิ่งที่เราทราบ me=9.11 x 10-31 kg mp= 1.67 x10-27 kg qboth=1.6 x10-19 C vo = 0 m/s E = 520 N/C t = 48 x 10-9 s 𝑭 𝑬 = 8.32 x10-19 N 𝑭 สุทธิ =𝑚𝑎 มีเฉพาะ แรงทางไฟฟ้า 𝑭 𝑬 = 𝑭 สุทธิ 𝑭 𝑬(𝒆𝒍𝒆𝒄𝒕𝒓𝒐𝒏) = 𝑚 𝑒 𝑎 𝑒 → 𝑎 𝑒 = 8.32× 10 −19 N (9.11× 10 −31 kg) ae = 9.13x1013 m/s2 𝑭 𝑬(𝒑𝒓𝒐𝒕𝒐𝒏) = 𝑚 𝑝 𝑎 𝑝 → 𝑎 𝑝 = (8.32× 10 −19 N) (1.67× 10 −27 kg) ap=4.98 x1010 m/s2 𝑣= 𝑣 0 +𝑎𝑡 𝑣 𝑒 = 𝑎 𝑒 48× 10 −9 = 𝑣 𝑝 = 𝑎 𝑝 48× 10 −9 = 4.38 x106 m/s 2.39 x103 m/s

สนามไฟฟ้าจากจุดประจุ จากที่ได้กล่าวมาก่อนหน้านี้ ประจุจะส่งแรงกระทำต่อประจุอื่น ในบริเวณข้างเคียงเนื่องจากสนามไฟฟ้าของรอบประจุนั้นๆ หากเราต้องการหาขนาดของของสนามไฟฟ้า ณ บริเวณใดๆ ใกล้ประจุนี้ สามารถกระทำได้โดยใช้ประจุทดสอบ และคำนวณผลของแรงที่กระทำต่อประจุทดสอบนั้น ก็จะสามารถคำนวณหาสามไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุณ ตำแหน่งนั้นได้ 𝐹 𝐸 =𝑘 𝑄𝑞 𝑟 2 และ 𝐸= 𝐹 𝐸 𝑞 → 𝐹 𝐸 =𝐸𝑞 𝐸𝑞=𝑘 𝑄𝑞 𝑟 2 𝐸 𝑝𝑜𝑖𝑛𝑡 𝑐ℎ𝑎𝑟𝑔𝑒 =𝑘 𝑄 𝑟 2 TEST CHARGE POINT CHARGE

Example ประจุ Q ขนาด -4x10-12C วางที่จุดกำเนิด ขนาดและทิศทางของสนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุ Q จะมีค่าเท่าใด หากวางประจุทดสอบไว้ที่ ระยะ x = -0.2m? -Q 0.2 m E 0.899 N/C เข้าหาประจุ Q จากทางด้านซ้าย สมการสามารถหาได้เฉพาะ ขนาด ของสนามไฟฟ้า เท่านั้น โดยทิศทางพิจารณาจากชนิดของประจุ โดยมีทิศ พุ่งออก จากประจุบวก และ พุ่งเข้า หาประจุลบ

Electric Field of a Conductor A few more things about electric fields, suppose you bring a conductor NEAR a charged object. The side closest to which ever charge will be INDUCED the opposite charge. However, the charge will ONLY exist on the surface. There will never be an electric field inside a conductor. Insulators, however, can store the charge inside. There must be a negative charge on this side OR this side was induced positive due to the other side being negative. There must be a positive charge on this side