การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
รุ้งพิเศษสำหรับท่าน เมฆมีขอบเป็นสีน้ำเงินทั้งนั้น และแต่ละวันที่
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ความสัมพันธ์ของ อุณหภูมิ และ แสงแดด
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
น้ำและมหาสมุทร.
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
เครื่องมือเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ข้อมูลปัญหาที่นำมาใช้เพื่อการออกแบบสวน
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Demonstration School University of Phayao
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
1. แนวความคิดในการศึกษา
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
จัดทำโดย ด.ช.ธีรัตม์ ทัศนัย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
การหักเหของแสง (Refraction)
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวศุกร์ (Venus).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
10.11 ภัยแล้ง (Drought) เป็นสภาวะการขาดแคลนน้ำซึ่งเกิดขึ้นได้หลายกรณี เช่น เป็นช่วงเวลาที่ขาดฝนเป็นระยะเวลานาน ความแห้งแล้งอาจเกิดขึ้นได้ในบางช่วงที่มีความชื้นไม่เพียงพอที่จะให้แก่พืชได้
การตรวจอากาศชั้นบนด้วยเครื่องวิทยุหยั่งอากาศ Radiosonde
ยินดีต้อนรับ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
สนามอุตุนิยมวิทยา.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง

การพยากรณ์อากาศ สถานีตรวจอากาศ      สถานีตรวจอากาศที่จัดตั้งขึ้นเพื่อทำการตรวจสาระประกอบของอุตุนิยมวิทยานั้น ได้จัดแบ่งไว้ 5 ประเภทดังนี้ 1. สถานีเพื่อการพยากรณ์อากาศ (synoptic stations) หมายถึง สถานีทั้งบนบกหรือในทะเลแบ่ง ย่อยออกเป็นสถานีผิวและสถานีตรวจอากาศชั้นบน 2. สถานีตรวจภูมิอากาศ (Climatogical stations) ได้แก่ สถานีหลัก สถานีธรรมดา สถานีฝนและ สถานีตรวจอากาศเพื่อความมุ่งหมายพิเศษ 3. สถานีตรวจอากาศเกษตร (Agricultural meteological stations) ได้แก่ สถานีหลักสถานี ธรรมดา สถานีช่วยและสถานีตรวจอากาศเพื่อความมุ่งหมายพิเศษ 4. สถานีตรวจอากาศการบิน (Aeronautical meteorological stations) 5. สถานีพิเศษ (Special stations) หมายถึง สถานีที่ทำการตรวจบรรยากาศสถานีเรดาร์ตรวจอากาศ สถานีอุทกวิทยา การตรวจราดิเอชั่น หรือโอโซน การตรวจสาระประกอบอุตุนิยมวิทยา ใกล้พื้นดิน การตรวจสารเคมีในบรรยากาศการตรวจไฟฟ้าในบรรยากาศ

การตรวจอากาศจำแนกออกได้ 4 ชนิด 1 การตรวจเพื่อการพยากรณ์ (Synoptic observatons)       การตรวจเพื่อการพยากรณ์จะต้องทำการ ตรวจสารประกอบอุตุนิยมวิทยา ดังต่อไปนี้ คือ 1. ลักษณะอากาศปัจจุบันและที่ผ่านมาแล้ว 2. ทิศทางและความเร็วลม 3. จำนวน ชนิดและความสูงของฐาน 4. ทัศนวิสัย 5. อุณหภูมิอากาศ 6. ความชื้น 7. ความกดของบรรยากาศ

สถานีพื้นผิวบนบก จะต้องมีการตรวจสารประกอบอุตุนิยมวิทยาเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้ คือ 1. การเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศ 2. อุณหภูมิสูงสุด - ต่ำสุด 3. จำนวนหยาดน้ำฟ้า 4. ลักษณะของพื้นดิน 5. ทิศทางของเมฆ 6. ปรากฏการณ์ธรรมชาติพิเศษ

สถานีที่อยู่ในทะเล กำหนดให้ตรวจสาระประกอบอุตุนิยมวิทยาเพิ่มเติม 1 สถานีที่อยู่ในทะเล กำหนดให้ตรวจสาระประกอบอุตุนิยมวิทยาเพิ่มเติม 1. ทิศทางทางเดินเรือและความเร็วของเรือ 2. อุณหภูมิของน้ำทะเล 3. ทิศทาง ช่วงระยะและความสูงของคลื่น 4. น้ำแข็ง 5. ปรากฏการณ์ธรรมชาติพิเศษ

การตรวจอากาศจำแนกออกได้ 4 ชนิด 2. การตรวจภูมิอากาศ (Climatological observations) กำหนดให้สถานีภูมิภาคที่เป็นสถานีหลักทำการตรวจสาระประกอบอุตุนิยมวิทยาเกือบทั้งหมด หรือทั้งหมด ดังต่อไปนี้ คือ 1. ลักษณะลมฟ้าอากาศ 6. ความชื้น 2. ทิศทางและความเร็วของลม 7. ความกดของบรรยากาศ 3. จำนวน ชนิด และความสูงของฐานเมฆ 8. หยาดน้ำฟ้า 4. ทัศนวิสัย 9. หิมะปกคลุม 5. อุณหภูมิอากาศ 10. แสงแดด รวมทั้งอุณหภูมิต่ำสุดและสูงสุด 11. อุณหภูมิใต้ดิน

การตรวจอากาศจำแนกออกได้ 4 ชนิด 3 การตรวจอากาศเกษตร (Agricultural meteorological observations)      สาระประกอบอุตุนิยมของการตรวจอากาศเกษตร ที่จำเป็นต้องตรวจหา ได้แก่ 1. อุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่ระดับต่างๆ 2. อุณหภูมิใต้ดิน 3. ความชื้นของดินระดับลึกต่างๆ 4. การผกผันและการคลุกเคล้าของอากาศในระดับต่ำ 5. บรรดาน้ำในบรรยากาศและเหตุสมดุลของความชื้นอื่นๆ 6. แสงแดดและราดิเอชั่น หรือการแผ่รังสี      นอกจากนั้นจะต้องทำการตรวจปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความเจริญงอกงามของผลิตผลของพืชและสัตว์ ความเสียหายเนื่องจากลมฟ้าอากาศและความเสียหายที่เกิดจากเชื้อโรคและแมลงที่  ทำลายพืช

การตรวจอากาศจำแนกออกได้ 4 ชนิด 4 การตรวจพิเศษ (Special observations)      การตรวจอากาศ ณ สถานีตรวจพิเศษนี้ขึ้นอยู่กับความมุ่งหมายที่จัดตั้งสถานีนั้นๆ ขึ้นมา เช่น สถานีตรวจเพื่อการณ์พยากรณ์และภูมิภาคที่กำหนดไว้โดยเฉพาะแผนการตรวจต้องรวมถึง 1. ความนานของแสงแดด 2. บันทึกรายงานติดต่อเนื่องจากของจำนวนทั้งหมดของราดิเอชั่น จากดวงอาทิตย์ละท้องฟ้าที่ พื้นผิวราบ 3. การวัดการระเหยของน้ำ

การเกิดฝน

...จบการนำเสนอ... ขอบคุณค่ะ ...จบการนำเสนอ... ขอบคุณค่ะ