8311412 เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Advertisements

โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
นางสาวจัตวา จันทร์สุวรรณ
Wireless LANs.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
EDGE GPRS.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
Telecom. & Data Communications
Wireless Local Loop (WLL)
(Global Positioning System)
มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้ใช้ เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด.
Personal Area Network (PAN)
Bluetooth (ฟันสีฟ้า).
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
คลื่นผิวน้ำ.
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ระบบโทรคมนาคม.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
: information Security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
ระบบ โทรคมนาคม บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ระบบโทรคมนาคม.
กล้องโทรทรรศน์.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
3G โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
HI!!!! How do you do?. hardware/network.html hardware/network.html เป็นเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
สรุปปัญหาการใช้ ICT ในการเรียนการสอน
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND

การบรรยายครั้งที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสเปกตรัมคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND

เทคโนโลยีไร้สายคืออะไร  เทคโนโลยีที่ทำให้มนุษย์สามารถที่จะส่งข้อมูลข่าวสารถึงกัน และกันได้ผ่านทางอากาศ โดยไม่ต้องใช้สายสัญญาณ  การส่งสัญญาณจะใช้เทคนิคการรวมข้อมูลข่าวสารเข้ากับคลื่น ความถี่วิทยุ (Radio Frequency, RF)  เริ่มมีการใช้งานในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 โดย มาร์โคนี่ (G. Marconi) นักฟิสิกส์ชาวอิตาลีเป็นคนแรกที่ประสบความสำเร็จใน การส่งข้อมูลโดยใช้คลื่นความถี่วิทยุ

เทคโนโลยีไร้สายที่พบได้ในชีวิตประจำวัน  ปัจจุบันเทคโนโลยีไร้สายได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำเนิน ชีวิตประจำวันของเราไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ตัวอย่างของ เทคโนโลยีไร้สายที่พบได้ในชีวิตประจำวัน อาทิ  โทรทัศน์ (Television)  โทรศัพท์มือถือ (Mobile Phone)  เครือข่ายไร้สาย (Wireless Network, Wi-Fi)  วิทยุกระจายเสียง (Radio)  รีโมตคอนโทรล (Remote Control)

เทคโนโลยีไร้สายที่พบได้ในชีวิตประจำวัน  ตัวอย่างของเทคโนโลยีไร้สายที่พบได้ในชีวิตประจำวัน ( ต่อ )  วิทยุสื่อสาร (Walkies-Talkies)  ประตูอัตโนมัติ (Automatic Door)  อินเตอร์คอม (Intercom)  ฯลฯ

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  คลื่นพลังงานที่อยู่รอบๆ ตัวเรา  แหล่งกำเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น คลื่นแสงจากดวงอาทิตย์  สร้างโดยมนุษย์ เข่น คลื่นวิทยุกระจายเสียง สัญญาณ โทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ เป็นต้น

คุณลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  ความยาวคลื่น (Wavelength) คือ ระยะห่างระหว่างยอดคลื่น ลูกหนึ่งถึงยอดคลื่นอีกลูกหนึ่ง ที่อยู่ติดกัน  แอมพลิจูด (Amplitude) คือ ความสูงของคลื่น ซึ่งจะเป็นตัว บอกความเข้มของสัญญาณ ถ้าคลื่นมีความสูงมากแสดงว่า มีความเข้มของสัญญาณมาก  รอบคลื่น (Time of Period) หมายถึงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ ได้ครบหนึ่งวงกลมโดยนัย  ความถี่ (Frequency) คือ จำนวนครั้งหรือจำนวนรอบต่อ วินาทีที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านไป

หน่วยวัดความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

หน่วยวัดรอบคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ความสัมพันธ์กันของคุณลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  ความยาวคลื่น (Wavelength) กับ ความถี่ (Frequency) มี ความกัน  ถ้าความยาวคลื่นสูงจะมี ความถี่ต่ำ  ถ้าความยาวคลื่นต่ำจะมี ความถี่สูง  คลื่นความถี่วิทยุมีความยาว คลื่นสูงที่สุดดังนั้นจึงมีความถี่ ต่ำที่สุด จึงมีความเหมาะสมที่ จะนำมาใช้ในการสื่อสารบนผิว โลก

ความสัมพันธ์ของจำนวนรอบกับความถี่ของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า  สามารถคำนวนได้ตามสูตร f = 1/P, P = 1/f  โดยที่ f คือความถี่ของคลื่น (Hertz) P คือรอบคลื่น (Seconds)  ตัวอย่างที่ 1 จงคำนวนหารอบ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของไฟฟ้า ที่ใช้กันภายในบ้านทั่วๆ ไปซึ่ง มีความถี่ 50 และ 60 Hz P = 1/50 = s = 20 ms P = 1/60 = s = 16.6 ms

 ตัวอย่างที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีรอบคลื่นวัดได้ 100 ms จงหา ว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวข้างต้นมีความถี่กี่กิโลเฮริตซ์ 100 ms = 100 x s = s f = 1/P = 1/10 -1 Hz = 10 Hz = 10 x kHz = kHz ความสัมพันธ์ของจำนวนรอบกับความถี่ของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  มีความเร็วในการเดินทาง เท่ากับแสงคือประมาณ 3 x 10 8 เมตรต่อวินาที  ในขณะที่คลื่นเดินทางผ่าน อากาศ คลื่นจะมีสัญญาณอ่อน ลงเนื่องจากเกิดกระบวนการ ดูดซับสัญญาณ (Absorption) เช่น มีการสัมผัสกับโมเลกุล ของอากาศ ไอน้ำ ความร้อน และสายฝน เป็นต้น  คลื่นที่มีความถี่สูงสามารถ เดินทางไปในอากาศได้ ระยะทางสั้นกว่าคลื่นที่มี ความถี่ต่ำ ( ด้วยกำลังส่งที่ เท่ากัน )

คลื่นความถี่วิทยุ (Radio Frequency, RF)  เป็นส่วนหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  มีความถี่ต่ำที่สุดในสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  สามารถทะลุผ่านสิ่งกีดขวางได้ดี

สเปกตรัมคลื่นความถี่วิทยุ

 ITU (International Telecommunication Union, ไอทียู.) สหภาพ โทรคมนาคมระหว่างประเทศ  FCC (Federal Communication Commission, เอฟซีซี ) คณะกรรมการบริหารความถี่แห่งชาติสหรัฐอเมริกา  NBTC (The National Broadcasting and Telecommunications Commission, กสทช.) คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ( องค์กรที่ทำหน้าที่บริหารจัดการคลื่นความถี่วิทยุ

Questions and Answers

Exercises 1