ระบบดูดน้ำลายและของเสีย ทางทันตกรรม 1 โดย….ทพ.บุญฤทธิ์ สุวรรณโนภาส บริษัทมิดเวสต์เดนตัลกรุ๊ป จำกัด
แรงดูดทางทันตกรรม แรงดูดต่ำ ( Low Power Suction ) - ใช้ดูดน้ำลายในการปฏิบัติงานทั่วไป แรงดูดสูง ( High Power Suction ) - ใช้ในงานศัลยกรรม แรงดูดปริมาตรสูง (High Volume Suction ) - ใช้ดูดละอองน้ำจากงานอุดฟัน ขูดหินน้ำลาย
ระบบดูดทางทันตกรรม 1. Air Suction มี 2 ระบบ คือ 1. Air Suction ใช้อากาศอัดปล่อยผ่านหัวฉีดสูญญากาศ (Air Ventury) 2. Motor Suction ใช้การดูดจาก Compressor
Air Ventury Separator ระบบ Air suction
หลักการทำงานของหัวฉีดสุญญากาศ A B C A B C A B C
อากาศอัดเข้า Bacterial Filter น้ำลายและ ของเสียเข้า
ระบบ Motor Suction 3. Compressor 1. ขวดเก็บและแยกของเหลวที่ดูด 2. (Separator Tank) Compressor 1. 3. 2.
ขวดเก็บและแยกของเหลวที่ดูด(Separator Tank) แบ่งออกเป็น 1. Manual Drain 2. Automatic Drain
1. Manual Drain มอเตอร์ปั้มให้ อ๊อกซิเจนปลา
2. Automatic Drain
2. Automatic Drain
ประเภทของ Compressor 1. Diaphragm 2. Reciprocating 3. Rotary Vane 4. Regenerative Blower
Rotary Vane
Regenerative Blower Bacterial Filter ช่องอากาศอัดออก ช่องดูดอากาศเข้า มอเตอร์ ช่องดูดอากาศเข้า ส่วนทำอากาศอัด
Regenerative Blower
Suction Tip ที่ใช้กับ High Volume Suction
มาตรฐาน ส่วนให้กำลังในการดูด (Motor) เป็นระบบใช้ไฟฟ้า 2. ถังแยกอากาศและของเสีย (Separator tank) 3. ระบบที่ใช้ต้องไม่เป็นระบบที่มีหัวฉีดสูญญากาศ ที่ใช้อากาศหรือน้ำ ทำให้เกิดการดูด
การบำรุงรักษา 1. การใช้ High Volume Suction - ต้องมีการดูดอากาศร่วมทุกครั้ง 2. หลังการใช้งานทุกครั้ง - ต้องดูดน้ำสะอาดล้างเพื่อไล่สิ่งสกปรก 3. หลังเสร็จสิ้นภารกิจประจำวัน - ถอดตะแกรงดักของระบบ Suction ออกล้างและทำ ความสะอาด 4. เปลี่ยน Bacterial Filter - เมื่อครบอายุการใช้งาน หรือแรงดูดลดลง
ถอดตะแกรงดักของระบบ Suction ออกล้าง