กาพย์เห่เรือ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

การแต่งกลอน.
ความสุขเปรียบเหมือนผีเสื้อ
วงจรการประยุกต์ความรู้
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ตำนานเมืองฟ้าแดด เนื้อเรื่อง
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
กาพย์เห่เรือ.
บทเรียนโปรแกรม POWER POINT
แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์. แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เป็นตำราแพทย์ของไทยโบราณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รวบรวมขึ้นไว้
สื่อการเรียน เรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนนทก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชินูทิศ 2 โดย คุณครูกัลยา นารถภักดี
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
สื่อประกอบการเรียนรู้
*ความสุขของพระมหากษัตริย์
ปลา กับ นกกระยาง.
ชวนไปทัศนา “ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน”
ใครคือฉัน? ฉันคือใคร?.
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ
บทร้อยกรอง.
ประสบการณ์ดีๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เรื่องราวที่เราส่งมาให้คุณนี้ ช่างงดงาม
เรื่อง คำอุทาน.
โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
นางสาวสุกัญญา จันทร์ทอง (ฝน) คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิทยาการสิ่งทอ
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
84 พรรษามหาราช ด.ช.อชิรวิทย์ ดำเนินผล.
แหล่งท่องเที่ยวในสุพรรณบุรี
ข้อแนะนำ วันหนึ่ง ฉันขอคำแนะนำจากพระ เจ้า ว่าจะดำเนินชีวิตในโลกนี้อย่างไร.
วันลอยกระทง.
วรรณคดีสำคัญสมัยอยุธยาตอนปลาย
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
เป็นการกล่าวข้อความแสดงอารมณ์โศกเศร้า อาลัยรักที่เกิดจากความทุกข์อันเนื่องมาจากความไม่สมหวัง ความผิดหวัง ความสูญเสีย ตลอดจนเรื่องของการพลัดพราก เข้าทำนองพุทธวัจนะบทที่ว่า 
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
ค่าวคืออะไร       “ค่าว” หมายถึงคำประพันธ์ที่มีลักษณะร้อยสัมผัสสอดเกี่ยวกันไปแบบร่ายและจบลงด้วยโคลงสองหรือโคลงสามสุภาพ  มีหลายชนิดคือ เรื่องที่ปรากฏในเทศนาธรรม.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ประเภทของวรรณกรรม.
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
องค์ประกอบของวรรณคดี
เสาวรจนี.
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
ดอกไม้ในวรรณคดีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
อาหารไทยของเรามีมากมายหลากหลาย บางชนิดวิธีทำนั้น ยากลำบาก และซับซ้อนละเอียดอ่อนมาก ดังนั้นปัจจุบันจึง ไม่ค่อยมีผู้ที่จะทำขึ้นมาให้เห็นกัน สักเท่าไร อย่าว่าถึงจะได้
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
ภูมิปัญญาทางภาษา ของท้องถิ่น
ฉากและบรรยากาศ ในวรรณคดี
เสด็จดุจเดือนขจร แจ่มฟ้า
ครุฑ ชนิดขาตั้งเฉียง ครุฑ ชนิดขาแบน.
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
อุโบสถวัดราช บูรณะ ลักษณะ อุโบสถเป็นอาคารก่อ อิฐถือปูน ด้านหน้ามีทางเข้า ๒ ทาง มีประตู ๒ คู่ มีหน้าต่างด้านละ ๔ คู่ รวมเป็น ๘ คู่ พื้นภายในพระอุโบสถยกระดับสูง.
สัลลาปังคพิไสย.
เราจะเข้ามาสรรเสริญ ด้วยใจโมทนาพระคุณ เราจะเข้ามาด้วยการร้องเพลง
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง.
วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง
ตัวละครในวรรณคดี วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่อง
วันแม่แห่งชาติ ด.ญ.ฐิติรัตน์ พิมพ์ทอง.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
สัลปังคพิสัย.
วันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2558.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กาพย์เห่เรือ

สารบัญ ผู้แต่ง รูปแบบ เนื้อเรื่องย่อ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ตัวอย่าง คุณค่าทางสังคม

ผู้แต่ง กลับหน้าสารบัญ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศรไชยาเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือเจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์ทรงเป็นรัตนกวีท่านหนึ่งในปลายแผ่นดินกรุงศรีอยุธยา มีผลงานพระราชนิพนธ์มากมาย กาพย์เห่เรือนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดแห่งกาพย์เห่เรือ เจ้าฟ้ากุ้งพระราชนิพนธ์กาพย์เห่เรือนี้ คราวเสด็จฯไปนมัสการพระพุทธบาทที่ จ.สระบุรี กลับหน้าสารบัญ

รูปแบบ กลับหน้าสารบัญ เป็นร้อยกรองประเภทกาพย์ห่อโคลง คือแต่ละตอนจะนำด้วยโคลงสี่สุภาพ 1 บท ตามด้วยกาพย์ยานีสิบเอ็ด หลายบท จุดประสงค์ในการแต่ง : ให้พวกฝีพายขับเห่ ในเวลาเสด็จพยุหยาตราทางชลมารค เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน ช่วยให้ผ่อนแรง และเกิดจังหวะในการพายพร้อมกัน กลับหน้าสารบัญ

เนื้อเรื่องย่อ กลับหน้าสารบัญ กล่าวพรรณนาเกี่ยวกับการโดยเสด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี โดยดำเนินเรื่องเหมาะสมกับธรรมชาติและสัมพันธ์กับเวลาใน 1 วัน ดังนี้ ตอนเช้า บทเห่ชมเรือพระที่นั่ง และขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ตอนสาย บทเห่ชมปลา ตอนบ่าย บทเห่ชมไม้ ตอนเย็น บทเห่ชมนก ตอนค่ำ บทคร่ำครวญถึงนางผู้เป็นที่รัก การพรรณนาในตอนแรกที่เป็นตอนชมกระบวนเรือ กวีไม่กล่าวถึงความรู้สึกในใจเลย แต่ในตอนต่อมากวีได้แทรกความคิดนึก อารมณ์รักและอาลัยถึงนางไว้อย่างอ่อนหวาน ซาบซึ้งแทบทุกบท กลับหน้าสารบัญ

คุณค่าด้านวรรณศิลป์ กลับหน้าสารบัญ 1.รูปแบบสอดคล้องกับเนื้อหา 2.ดีเด่นทางด้านด้านพรรณนาโวหาร ให้จินตภาพและความสะเทือนอารมณ์ เช่น เรือครุฑยุดนาคหิ้ว ลิ่วลอยมาพาผันผยอง พลพายกรายพายทอง ร้องโห่เห่โอ้เห่มา สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์ เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม 3.ใช้ศิลปะการประพันธ์ กล่าวคือ กวีสรรคำใช้ด้วยความประณีต เล่นสัมผัส ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรอย่างแพรวพราว ทำให้มีเสียงไพเราะจับใจ นอกจากนี้ยังใช้โวหารภาพพจน์ก่อให้เกิดภาพและอารมณ์สะเทือนใจได้ดี กลับหน้าสารบัญ

ตัวอย่าง กลับหน้าสารบัญ -การสรรคำมาใช้ เล่นสัมผัส -การสรรคำมาใช้ เล่นสัมผัส พระเสด็จโดยแดนชล ทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย กิ่งแก้วแพร้วพรรณราย พายอ่อนหยับจับงามงอน -สร้างจินตภาพ เรือสิงห์วิ่งเผ่นโผน โจนตามคลื่นฝืนฝ่าฟอง ดูยิ่งสิงห์ลำพอง เป็นแถวท่องล่องตามกัน กลับหน้าสารบัญ

กลับหน้าสารบัญ -การใช้โวหารภาพพจน์ ก.การใช้อุปมา นางนวลนวลน่ารัก ไม่นวลพักตร์เหมือนทรามสงวน แก้วพี่นี้สุดนวล ดั่งนางฟ้าหน้าใยยอง ข.การใช้อุปลักษณ์ น้ำเงินคือเงินยวง ขาวพราวช่วงสีสำอาง ไม่เทียบเปรียบโฉมนาง งามเรืองเรื่อเนื้อสองสี ค.การใช้อธิพจน์ ชายใดจากสมรเป็น ทุกข์เท่า เรียมเลย จากคู่วันเดียวได้ ทุกข์ปิ้มปานปี กลับหน้าสารบัญ

คุณค่าทางสังคม กลับหน้าสารบัญ 1.สะท้อนภาพชีวิตคนไทยว่าใช้แม่น้ำลำคลองเป็นทางคมนาคมที่สำคัญยิ่ง มีการสร้างเรือรูปต่างๆ อย่างสวยงามเป็นพาหนะ 2.สะท้อนให้เห็นขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบเนื่องจากการคมนาคมทางน้ำ เช่น ประเพณีเสด็จพยุหยาตราชลมารคของพระมหากษัตริย์ การใช้บทเห่เรือขับร้องไปตามระยะทางย่อมจะช่วยให้เกิดอารมณ์เบิกบาน สนุกสนาน เป็นสุขทั้งผู้พายและผู้พบเห็น 3.สะท้อนให้เห็นศิลปะของไทยที่คนไทยที่คนไทยควรจะภาคภูมิใจ เช่น ศิลปะในการแกะสลักโขนเรือ (หัวเรือ) เป็นรูปหัวสัตว์ต่างๆ โดยมากมักเป็นพาหนะของเทพเจ้า ได้แก่ ครุฑ พาหนะของพระนารายณ์ หงส์ พาหนะของพระพรหม เป็นต้น กลับหน้าสารบัญ

กลับหน้าสารบัญ 4.สะท้อนให้เห็นถึง ค่านิยม และความเชื่อของคนไทย เช่น 4.สะท้อนให้เห็นถึง ค่านิยม และความเชื่อของคนไทย เช่น -ค่านิยมเกี่ยวกับความงามของสตรี งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกรกราย งามพริ้มยิ้มแย้มพราย งามคำหวานลานใจ๋ถวิล -ค่านิยมเกี่ยวกับการแต่งกาย เพียนทองงามดั่งทอง ไม่เหมือนน้องห่มตาดพราย -ค่านิยมเกี่ยวกับคุณสมบัติของกุลสตรี นึกน้องกรองมาลัย วางให้พี่ข้างที่นอน นึกถวิลกลิ่นบุหงา รำไปเจ้าเศร้าถึงนาง -ความเชื่อในเรื่องเวรกรรม เวรามาทันแล้ว จึงจำแคล้วแก้วโกมล กลับหน้าสารบัญ

ผู้จัดทำ นายถิรายุทธ ชัยปินตา เลขที่ 11 นายประเทศ อุทธิ เลขที่ 25 นายถิรายุทธ ชัยปินตา เลขที่ 11 นายประเทศ อุทธิ เลขที่ 25 นายอนุพงศ์ อุบลไกรสีห์ เลขที่ 34 นายอรรถวัจน์ ตุยาสัย เลขที่ 36 นายวันเฉลิม ศรีทันดร เลขที่ 42