การติดตามและ ประเมินผลโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แนวทางการจัดทำรายงาน
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ

หลักการเบื้องต้น การประเมินผลโครงการ ถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญประการหนึ่ง โครงการซึ่งหลังจากได้ผ่านกระบวนการวางแผนและการปฏิบัติตามแผน การติดตามและประเมินผล ถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการวัดความสำเร็จของผลการดำเนินงาน ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ

หลักการเบื้องต้น(ต่อ) 1. การติดตามผล เป็นการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าในการดำเนินงานการจัดสรรทรัพยากร เป็นการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ทรัพยากรในโครงการกับผลผลิต ของโครงการร่วมกับปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน การติดตามผลเป็นเครื่องมือในช่วงการปฏิบัติงานของโครงการเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการส่งมอบปัจจัยการผลิต กำหนดการทำงาน การผลิตผลผลิตและการดำเนินงานต่าง ๆ ได้ดำเนินงานไปตามแผนที่กำหนดไว้

หลักการเบื้องต้น(ต่อ) 2. การประเมินผล เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการติดตามการปฏิบัติงาน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของโครงการหรือแผนงานว่ามีการใช้ทรัพยากร / ปัจจัยต่าง ๆ อย่างไร มีการดำเนินงานเป็นไปตามแผน ตามขั้นตอน ตามกฎเกณฑ์ และตามเวลาที่กำหนดหรือไม่ตลอดจนมีผลงานเป็นไปตามแผน วัตถุประสงค์ และเป้าหมายหรือไม่ อาจเป็นการประเมินผลระหว่างการดำเนินงาน เป็นการประเมินถึงผลผลิต และผลลัพธ์ หรือการประเมินผลภายหลังการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบผลความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ 2. เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคให้งานบรรลุเป้าหมาย 3. เพื่อสนับสนุนโครงการที่มีประสิทธิผลให้มีการขยายผลเพื่อการพัฒนาในอนาคตต่อไป

วัตถุประสงค์(ต่อ) 4. เพื่อยกเลิกโครงการที่มีความผิดพลาดหรือล้มเหลวและมีผลกระทบในเชิงลบมากกว่าเชิงบวก 5. เพื่อนำผลการประเมินของโครงการที่ปฏิบัติแล้วมาปรับปรุงแก้ไขปัญหางานในด้านต่างๆ

คุณประโยชน์ของการประเมินโครงการ 1. ช่วยทำให้การกำหนดวัตถุประสงค์และมาตรฐานของการดำเนินงานมีความชัดเจนขึ้น และสามารถที่จะนำไปปฏิบัติได้อย่างได้ผล 2. ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างคุ้มค่าหรือเกิดประโยชน์เต็มที่   3. ช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์

คุณประโยชน์(ต่อ) 4. มีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบ(Impact) ของโครงการและทำให้โครงการมีข้อที่ทำให้เกิดความเสียหายลดน้อยลง   5. มีส่วนในการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้ปฏิบัติตามโครงการ   6. ช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการ 

สาระสำคัญ 1. การติดตามเป้าหมายการใช้จ่ายงบประมาณ 2. การติดตามแผนกิจกรรมประจำทุก 3 เดือน 3. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ 4. การประเมินประโยชน์ของแผนปฏิบัติการ

การประเมินโครงการที่ดี 1. โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้มากน้อยเพียงใด 2. ผลที่เกิดคุ้มค่าหรือไม่ (Cost - Effective) 3. โครงการมีผลกระทบต่อกลุ่มเป้าหมายผู้ร่วมโครงการอะไรบ้าง (ผลกระทบระยะยาวหรือหลังสิ้นสุดโครงการ(Impact) ผลกระทบระหว่างดำเนินโครงการ(Effect) 4. ควรตัดสินใจอย่างไรเกี่ยวกับโครงการ

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน 1. การประเมินก่อนเริ่มดำเนินโครงการ (Pre-implementation evaluation) เป็นการประเมินเพื่อวางแผนโครงการ นับตั้งแต่การกำหนดหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวิธีดำเนินโครงการ ประกอบด้วย

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน(ต่อ) 1.1 การประเมินบริบท หรือสภาวะแวดล้อม (Contest evaluation) เป็นการประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อกำหนดโครงการและเป็นการประเมินว่าโครงการที่จะดำเนินการสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ของกระทรวง

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน(ต่อ) * ผลของการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็น ความเหมาะสมของวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ซึ่งจะนำไปสู่การตัดสินใจเลือก หรือกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน(ต่อ) 1.2 การประเมินปัจจัยป้อน (Input evaluation) เป็นการตรวจสอบความพร้อมทั้งด้านปริมาณ (ความเพียงพอ) และคุณภาพ(ความเหมาะสม) ของทรัพยากรที่จะใช้ในการดำเนินโครงการ

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน(ต่อ) * ผลของการประเมินจะนำไปสู่การตัดสินใจเลือกวิธีการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมหรือไม่ นอกจากนั้นยังช่วยให้ตัดสินใจได้ว่า โครงการมีความเหมาะสมหรือไม่ และเมื่อนำไปปฏิบัติจะทำให้วัตถุประสงค์/เป้าหมายของโครงการบรรลุผลหรือไม่

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน(ต่อ) 2. การประเมินระหว่างดำเนินโครงการ (Formative/on going evaluation) เป็นการประเมินกระบวนการ(Process evaluation) ซึ่งเป็นการประเมินเกี่ยวกับประเด็นต่อไปนี้

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน(ต่อ) วิธีการจัดกิจกรรมของโครงการตามแผนที่ได้วางไว้ ความก้าวหน้าของโครงการ กิจกรรมที่จัดทำได้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้หรือไม่ หรือเกิดประสิทธิผลมากน้อยเพียงใด มีปัญหาอุปสรรคใดเกิดขึ้น * ผลของการประเมินนำไปสู่การตัดสินใจ ปรับปรุงกิจกรรม วิธีการ หรือกระบวนการดำเนินงาน

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน(ต่อ) 3. การประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ (Summative evaluation) แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 3.1 การประเมินทันทีที่สิ้นสุดโครงการ เป็นการประเมินผลผลิต(Product evaluation) หรือผลลัพธ์ของโครงการ โดยมุ่งตอบคำถามว่าโครงการประสบความสำเร็จตามแผนที่วางไว้หรือไม่ ผลผลิตของโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย หรืไม่ คุ้มค่าเพียงใด

การกำหนดขอบข่ายของการประเมิน(ต่อ) 3.2 การประเมินภายหลังสิ้นสุดโครงการแล้วช่วงระยะเวลาหนึ่ง เป็นการประเมินผลกระทบ(Impact evaluation) ของโครงการอันเป็นผลที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจากผลผลิตของโครงการหรือผลผลิตของโครงการก่อให้เกิดผลอื่นๆ ตามมา ซึ่งเป็นผลที่มิได้ระบุไว้ในวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงการ

วิธีการประเมินผลโครงการ ดำเนินการใน 3 ลักษณะ คือ 1. การศึกษาข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ 2. การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน

วิธีการประเมินผลโครงการ 1. การศึกษาข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ ได้แก่ บันทึกข้อความขออนุมัติโครงการ โครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม แบบสอบถาม ผลการประเมินโครงการ การนำผลการจัดโครงการไปพัฒนาเป็นองค์ความรู้ รายงานการประชุม

วิธีการประเมินผลโครงการ(ต่อ) 2. การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ - ผู้รับผิดชอบโครงการ - ผู้ร่วมโครงการ - ผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการ ฯลฯ

วิธีการประเมินผลโครงการ(ต่อ) 3. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน เพื่อติดตามประเมินผลโครงการต่างๆ โดยให้รายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ ทุกๆ 6 เดือนเป็นอย่างน้อย

สวัสดีครับ