รสวรรณกรรม สันสกฤต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

รสทางวรรณคดี ๙ รส.
วรรณคดีสำคัญ สมัยกรุงธนบุรี.
ชีวิตหลัง ความตาย.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ธนาคารออมสิน.
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โครงงานจิตอาสา เรื่อง … เล่านิทานให้น้องฟัง จัดทำโดย กลุ่มจิตอาสา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๓.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ศาสนาคริสต์111
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
อยากให้เธออยู่ตรงนี้
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
บทบาทหน้าที่ในงานนาฏศิลป์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
การส่งกำลังบำรุงในระดับต่าง ๆ ของ ทบ.
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
สถานการณ์การเมืองของไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ตอนที่ 1: ใจที่ตั้งมั่นคง
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
มงคลชีวิต อย่านอนตื่นสาย อย่าอายทำกิน อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ความหมายของเรียงความ
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
หลุยส์ ปาสเตอร์.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๑
ศาสนาเชน Jainism.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นาย พิศณุ นิลกลัด.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รสวรรณกรรม สันสกฤต

รสวรรณกรรมสันสกฤต สามารถแบ่งออกได้เป็น ๙ ประเภท ดังนี้ ๑) ศฤงคารรส  (เสาวรจนี,นารีปราโมทย์) ๒) หาสยรส (เสาวรจนี) ๓) กรุณารส  (สัลลาปังคพิสัย) ๔) รุทรรส (พิโรธวาทัง) ๕) วีรรส  (เสาวรจนี,สัลลาปังคพิสัย) ๖) ภยานกรส  (สัลลาปังคพิสัย) ๗) พีภัตสรส (พิโรธวาทัง) ๘) อัพภูตรส (เสาวรจนี) ๙) ศานติรส (เสาวรจนี)

๑) ศฤงคารรส (รสแห่งความรัก) ศฤงคารรส  (รสแห่งความรัก)  ๑) เป็นการพรรณาความรักระหว่างหนุ่มสาวระหว่างสามี ภรรยา ระหว่างผู้ใหญ่กับผู้น้อย บิดามารดากับบุตร ญาติกับญาติ ฯลฯ สามารถทำให้ผู้อ่าน พอใจรัก เห็นคุณค่าของความรักนึกอยากรักกับเขาบ้างเช่น รักฉันชู้สาว รักหมู่คณะ รักประเทศชาติ เป็นต้น อย่างเช่น เรื่องลิลิตพระลอ เต็มไปด้วยรสรัก(ภาษาบาลี เรียกรสนี้ว่า “รติรส”) จะกล่าวว่าในรสนี้ อาจเทียบได้กับนารีปราโมทย์ก็ว่าได้ 

    ...ถึงไปก็ไม่อยู่นาน   เยาวมาลย์อย่าโศกเศร้าหมอง    พระจุมพิตชิดเชยปรางทอง   กรประคองนฤมลขึ้นบนเพลาฯ        ในบทนี้ เนื้อความจะคล้ายกับตัวอย่างที่ยกไว้ในรสนารีปราโมทย์ คือตนก็ยังรักจินตะหราอยู่ ไม่ได้หนีหน่ายไปไหน ขอจินตะหราอย่าโศกเศร้าเสียใจไปเลย

๒) หาสยรส (รสแห่งความขบขัน) หาสยรส (รสแห่งความขบขัน)  ๒) เป็นการพรรณนาที่ทำให้เกิดความร่าเริง สดชื่น เสนาะ ขบขัน อาจทำให้ผู้อ่าน ผู้ดูยิ้มกับหนังสือ ยิ้มกับภาพที่เห็น ถึงกับลืมทุกข์ดับกลุ้มไปชั่วขณะ เช่น เรื่องระเด่นลันได เป็นต้น (ภาษาบาลีเรียกรสนี้ว่า “หาสะรส”) 

…บ้างบ่าวเข้าคนละบ่าพานายวิ่ง   ประเจียดเครื่องเปลื้องทิ้งไว้เกลื่อนกล่น  บ้างหนามเกี่ยวหัวหูไม่รู้ตน       ซุกซนด้นไปแต่ลำพัง  บ้างเททิ้งไถ้ข้าวเขนงปืน            รื้อตื่นเสียงเพื่อนกันข้างหลัง  ที่ถูกปืนป่วยขาละล้าละลัง          อุตส่าห์คลานเซซังซุกไปฯ               ……. กวีตั้งใจจะให้ดูแล้วตลกขบขัน แม้ว่าเราอาจจะอ่านแล้วรู้สึกเฉยๆ ไม่ขำสักเท่าไหร่ คือเมื่อท้าวกะหมังกุหนิงถูกกริชแล้ว โดยปกติเมื่อแม่ทัพตาย ใครเล่าจะยังอยู่รบต่อ ก็ได้แต่แตกกระเจิงหนีกันหัวซุกหัวซุน บ้างก็วิ่งกันผ้าผ่อนหลุดลุ่ย หนามทิ่งแทงเกี่ยวไปเกี่ยวมา บ้างวิ่งบ้างคลาน เห็นถึงความ ชุลมุนวุ่นวายไปหมด     

กรุณารส (รสแห่งความเมตตากรุณาที่เกิดภายหลังความเศร้าโศก)  ๓) เป็นบทพรรณนาที่ทำให้ผู้อ่านหดหู่เหี่ยวแห้ง เกิดความเห็นใจถึงกับ น้ำตาไหล พลอยเป็นทุกข์ เอาใจช่วยตัวละคร เช่น เห็นใจนางสีดา เห็นใจจรกา และเห็นใจนางวันทอง เป็นต้น(ภาษาบาลีเรียกรสนี้ว่า “โสกะรส”) 

…แต่การศึกครั้งนี้ไม่ควรเป็น เกิดเข็ญเพราะลูกอัปลักษณ์ จะมีคู่ผู้ชายก็ไม่รัก จึงหักให้สาสมใจ ……. เมื่ออ่านตรงช่วงนี้แล้ว เราจะรู้สึกสงสารท้าวดาหาขึ้นมาจับใจ เพราะท้าวดาหาได้แต่ตัดพ้อต่อว่าน้อยใจ ว่าศึกสงครามนั้นมันไม่น่าเกิดขึ้นหรอก ถ้าไม่ใช่เพราะว่าลูกของตนนั้นหน้าตาอัปลักษณ์ ดูสิ ขนาดว่าจะแต่งงานทั้งที ผู้ชายเขายังไม่รักเลย ซึ่งเป็นการ กล่าวประชดประชัน เพราะท้าวดาหานั้นกำลังน้อยใจอิเหนา

๔) รุทรรส (รสแห่งความโกรธเคือง)  บทบรรยายหรือพรรณนาที่ทำให้ผู้ดูผู้อ่านขัดใจฉุนเฉียว ขัดเคืองบุคคลบางคนในเรื่อง บางทีถึงกับขว้างหนังสือทิ้ง หรือฉีกตอนนั้นก็มี เช่น โกรธขุนช้าง โกรธชูชก(ภาษาบาลีเรียกรสนี้ว่า “โกธะ”) รสนี้ เทียบได้กับรสวรรณคดีไทยคือ พิโรธวาทัง 

๕) วีรรส (รสแห่งความกล้าหาญ) บทบรรยายหรือพรรณาที่ทำให้ผู้อ่าน ผู้ดู ผู้ฟังพอใจผลงานและหน้าที่ ไม่ดูหมิ่นงาน อยากเป็นใหญ่ อยากร่ำรวย อยากมีชื่อเสียง เลียนแบบสมเด็จพระนเรศวร ชอบความมีขัตติมานะของพระมหาอุปราชา จากเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย (ภาษาบาลีเรียกรสนี้ว่า “อุตสาหะรส”)

…เมื่อนั้น ท้าวกะหมังกุหนิงนเรนทร์สูร ได้ฟังทั้งสองทูตทูล ให้อาดูรเดือดใจดั่งไฟฟ้า จึงบัญชาตรัสด้วยขัดเคือง ดูดู๋เจ้าเมืองดาหา เราอ่อนง้อขอไปในสารา แต่จะว่ารับไว้ก็ไม่มี ……. เป็นตอนที่ท้าวกะหมังกุหนิงก็กำลังโกรธยิ่งนัก เพราะตนนั้นยอมอ่อนข้อส่งคนไปขอเจรจา แต่ท้าวดาหานั้นหาได้จะรับไว้แม้แต่นิดเดียวเลย คิดแล้วก็น่าแค้นใจนัก

...จะตั้งหน้าอาสาชิงชัย มิได้ย่อท้อถอยหลัง สู้ตายไม่เสียดายชีวัง กว่าจะสิ้นชีวังของข้านี้ฯ ……. เมื่อได้อ่านบทนี้แล้ว บางคนอาจจะเลือดรักชาติพลุ่งพล่านเลยเทียว บนข้างต้นนี้เป็นตอนที่เจ้าเมืองในปกครองของท้าวกะหมังกุหนิง นั้นรับปากเป็นมั่นเป็นเหมาะอย่างดีว่า ตนยินดีร่วมรบร่วมต่อสู้อย่างสุดกำลัง พร้อมจะสู้แม้ตัวจะตายก็ยอม

๖) ภยานกรส (รสแห่งความกลัว ตื่นเต้นตกใจ) บทบรรยายหรือพรรณาที่ทำให้ผู้อ่านผู้ฟัง ผู้ดู มองเห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัยในบาปกรรมทุจริต เกิดความสะดุ้ง กลัวโรคภัยสัตว์ร้าย ภูตผีปีศาจ บางครั้งต้องหยุดอ่าน รู้สึกขนลุกซู่ อ่านเรื่อง ผีต่างๆ

…เห็นระตูถอยเท้าก้าวผิด พระกรายกริชแทงอกตลอดหลัง ล้มลงด่าวดิ้นสิ้นกำลัง มอดม้วยชีวังปลดปลงฯ ….... เมื่ออ่านแล้วคงรู้สึกอึ้ง เสียวสันหลังไปชั่วขณะ เราคงจะรู้สึกว่าโลกนี้นั้นล้วนเป็นอนิจจังจริงๆ เพราะเราได้เห็นบทสรุปของการไม่รู้จักที่ต่ำที่สูง บทสรุปของการลำพองตน ตนเองนั้นเป็นดั่งแสงหิ่งห้อย จะไปแข่งกับแสงอาทิตย์ได้เช่นไร บทข้างต้นนี้บรรยายไห้เห็นภาพได้อย่างชัดเจน ว่าท้าวกะหมังกุหนิงนั้น เพียงแค่ก้าวเท้าผิดเพียงก้าวเดียว ก็ถูกอิเหนาแทงกริชจากอกทะลุไปถึงหลัง ล้มลงนอนดิ้นลงไปเลยทีเดียว นึกแล้วคง สยดสยองมิใช่น้อย

๗) พีภัตสรส (รสแห่งความชัง ความรังเกียจ) บทบรรยายหรือพรรณนาที่ทำให้ผู้อ่านผู้ดู ผู้ฟังชังน้ำหน้าตัวละครบ้างตัว เพราะจิต(ของตัวละคร) บ้าง เพราะความโหดร้ายของตัวละครบ้างเช่น เกลียดนางผีเสื้อสมุทร ในเรื่องพระอภัยมณีที่ฆ่าพ่อเงือก เป็นต้น (ภาษาบาลีเรียกรสนี้ว่า “ชิคุจฉะรส”) 

๘) อัพภูตรส (รสแห่งความพิศวงประหลาดใจ) อัพภูตรส (รสแห่งความพิศวงประหลาดใจ) ๘) บทบรรยายหรือพรรณนาที่ทำให้นึกแปลกใจ เอะใจ อย่างหนัก ตื่นเต้นนึกไม่ถึงว่า เป็นไปได้ เช่นนั้น หรือ อัศจรรย์คาดไม่ถึงในความสามารถ ในความคมคายของคารม ในอุบายหรือในศิลปวิทยาคุณแปลกใจในสุปฎิบัติ (ความประพฤติที่ดีงาม) แห่งขันติ เมตตา กตัญญู อันยากยิ่งที่คนธรรมดาจะทำได้ (รสนี้ภาษาบาลีเรียก “วิมหะยะรส”)

๙) ศานติรส (รสแห่งความสงบ) อันเป็นอุดมคติของเรื่อง เช่น ความสงบสุขในแดนสุขาวดี ในเรื่อง วาสิฏฐี อันเป็นผลมุ่งหมายทางโลก และทางธรรม เป็นผลให้ผู้อ่าน ผู้ดู ผู้ฟัง เกิดความสุขสงบ ในขณะได้เห็นได้ฟัง ตอนนั้น ด้วย (ภาษาบาลีเรียกรสนี้ว่า “สมะรส”)

อ้างอิง http://www.learners.in.th/blogs/posts/261170 http://jatuphorn.blogspot.com/2011/02/blog-post_7461.html

จบการนำเสนอ