รายวิชา ง30102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
กลุ่มงานการบริการผู้ป่วยนอก งานบริการสุขภาพปฐมภูมิ
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
GT-1 ENGINE TREATMENT หัวเชื้อสารเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ จีที-วัน
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
อาณาเขต ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 15.5 ไร่ ทิศเหนือจรดคลอง บางเขน ทิศใต้จรดถนนงาม วงศ์วาน ทิศตะวันออกจรดคลอง เปรมประชากร ทิศตะวันตกจรดติดที่ดิน เอกชน.
Nickle.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แมกนีเซียม (Magnesium).
การจัดการความรู้ KM.
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
เด็กหญิงรุ่งฟ้า ชูรุ่ง
ผัก.
โครเมี่ยม (Cr).
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
การขยายพันธุ์พืช และพืชผัก
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก 5 สี ดีต่อสุขภาพ
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ทำนองเพลงรำวงชาวทะเล
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (Life and Environment)
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา ง30102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 นายปรีชา ยิ้มถนอม

สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ

เรื่องความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของพืชผักสวนครัว ใบมอบหมายงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของพืชผักสวนครัว

1. ผลการเรียนรู้ มี 3 ข้อ 1.1 บอกความหมายของพืชผักสวนครัวได้ 1.2 บอกความสำคัญของพืชผักสวนครัวได้ 1.3 บอกประโยชน์ของพืชผักสวนครัวได้

2. สาระการเรียนรู้ มี 3 เรื่อง 2.1 ความหมายของพืชผักสวนครัว 2.2 ความสำคัญของพืชผักสวนครัว 2.3 ประโยชน์ของพืชผักสวนครัว 1

3.ประโยชน์ของพืชผักสวนครัว 1.ความหมายของพืชผักสวนครัว 3.ประโยชน์ของพืชผักสวนครัว หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 2.ความสำคัญของพืชผักสวนครัว

ล้อมวงระดมความคิด

รูปภาพมี.......สี 1. เขียว 2. ฟ้า 3.น้ำเงิน 4. ม่วง 5. ส้ม 6. เหลือง

งาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน 1. เนื้อหาถูกต้อง 2. มีความคิดสร้างสรรค์ เกณฑ์การให้คะแนน 1. เนื้อหาถูกต้อง 2. มีความคิดสร้างสรรค์ 3. งานครบ 4. ส่งตรงเวลา 5. ส่งทุกครั้ง

ตัวอย่าง ผลงาน

2. ขาดความคิดสร้างสรรค์ เกณฑ์การหักคะแนน 1. เนื้อหาไม่ถูกต้อง 2. ขาดความคิดสร้างสรรค์ 3. ขาดงาน 4. ส่งไม่ตรงเวลา 5. ไม่เคยส่งเลย

ใบความรู้ที่ 1 เรื่องความหมายของพืชผักสวนครัว ใบความรู้ที่ 1 เรื่องความหมายของพืชผักสวนครัว        

1. พืชผักสวนครัว หมายถึง…………………………………… ประกอบด้วยคำ 2 คำคือ พืชผัก และสวนครัว 1. พืชที่ปลูกที่ไหน........ 2. ปลูกไว้ใช้ทำอะไร............... 3. บริโภคส่วนใด..........................

ผักสวนครัวที่บ้าน

ผักสวนครัวที่บ้าน

ผักสวนครัวในโรงเรียน

ผักสวนครัวในโรงเรียน

ผักสวนครัวที่ทำงาน

พืชผักสวนครัว หมายถึง……………………………………… พืชล้มลุก หรือพืชยืนต้นที่ปลูกไว้ในบ้าน โรงเรียน หรือ ที่ทำงาน เพื่อใช้บริโภคสดหรือใช้ประกอบอาหาร โดยส่วนต่างๆ ต้องมีความอ่อนนุ่มอวบน้ำ และไม่แข็งชนิดเป็นแก่น นับเป็นสวนครัวขนาดเล็กที่ให้ผักสดที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ปลอดภัยจากสารพิษไว้บริโภคในครอบครัว

ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ การจำแนกพืชผัก ตามลักษณะการใช้ประโยชน์

ประเภทพืชผัก ตัวอย่างพืชผัก 1. ใช้ใบ และ ลำต้นเป็นอาหาร ผักกาด คะน้า กะหล่ำปลี ผักบุ้ง ตำลึง ผักชี 2. ใช้ผลเป็นอาหาร ถั่วฝักยาว พริก มะเขือ ฟักทอง แตงกวา มะระ

3. ใช้ดอกเป็นอาหาร 4. ใช้หัว หรือ รากเป็นอาหาร 5. ใช้กาบใบเป็นอาหาร กะหล่ำดอก ดอกแค ดอกโสน 4. ใช้หัว หรือ รากเป็นอาหาร เผือก ผักกาดหัว มัน ขมิ้น 5. ใช้กาบใบเป็นอาหาร หอมแดง หอมหัวใหญ่ กระเทียม

เรื่องความหมายของพืชผักสวนครัว แบบฝึกที่ 1.1 หน้า 2 เรื่องความหมายของพืชผักสวนครัว

ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายของพืชผักสวนครัวได้ คำสั่ง ให้อธิบายความหมายของพืชผักสวนครัว และระบายภาพ ให้สวยงามลงในใบมอบหมายงาน

1. พืชผักสวนครัว หมายถึง ………………………………… ................................................................................................................ ..................................................................................... โดยส่วนต่างๆ ต้องมีความอ่อนนุ่มอวบน้ำ และไม่แข็งชนิดเป็นแก่น นับเป็น สวนครัวขนาดเล็กที่ให้ผักสดที่มีคุณค่าทางอาหารสูงปลอดภัย จากสารพิษไว้บริโภคในครอบครัว

ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ การจำแนกพืชผัก ตามลักษณะการใช้ประโยชน์

สรุปการจำแนกพืชผักตามลักษณะการนำมาใช้ประโยชน์ 1. ใช้ใบและลำต้นเป็นอาหาร 2. ใช้ผลเป็นอาหาร 3. ใช้ดอกเป็นอาหาร 4. ใช้หัวหรือรากเป็นอาหาร 5. ใช้กาบใบเป็นอาหาร

อะไรเอ่ย.........

ใบความรู้ที่ 1.2 หน้า 4 เรื่องความสำคัญของพืชผักด้านคุณค่าทางอาหาร …………………………………………………………………………………… พืชผักสวนครัวนับว่ามีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตประจำวัน ของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน โดยให้ความสำคัญ ด้านคุณค่าทางอาหาร เภสัชกรรม และอาชีพเกษตรกรรม สามารถจำแนกได้ 3 ด้านดังนี้

สรุปความสำคัญ ของพืชผักสวนครัว

1. ด้านคุณค่าทางอาหาร 2. ด้านเภสัชกรรม 3. ด้านอาชีพเกษตรกรรม

ความสำคัญ ของพืชผักสวนครัว 1. ด้านคุณค่าอาหาร ความสำคัญ ของพืชผักสวนครัว 2. ด้านเภสัชกรรม 3. ด้านอาชีพเกษตรกรรม

1. ความสำคัญของพืชผักสวนครัวด้านคุณค่าทางอาหาร หน้า 22 1. ความสำคัญของพืชผักสวนครัวด้านคุณค่าทางอาหาร

ความสำคัญได้ 4 ข้อดังนี้ พืชผักมีสารอาหารหลายอย่างที่เป็นประโยชน์ สามารถจำแนก ความสำคัญได้ 4 ข้อดังนี้ 1.1 พืชผักเป็น อาหารประจำวันที่ขาดไม่ได้ของมนุษย์ โดยประชากรในประเทศที่กำลังพัฒนาควรบริโภคพืชผักประมาณ 100 กรัม/คน/วัน (ปีละ ........... กิโลกรัม) 36.50

ภาพพืชผักที่เป็นอาหารประจำวัน เครื่องเคียง ผัดผักรวม ผักเจ

ช่วยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ 1.2 พืชผักมีสี กลิ่น และรส โดย......................... …..... 1. สี ช่วยให้น่ารับประทาน 2. กลิ่น.….. ช่วยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ 3. รส…. ช่วยประกอบให้อาหารมีรสชาติดีขึ้น

1.21 สีของผัก จำแนกได้ 3 สี (The basic tri colour)

1) สีเขียว ได้แก่……………………………………. 1.2.1 สีของพืชผัก(ต่อ) 1) สีเขียว ได้แก่……………………………………. 1.กระเจี๊ยบเขียว 3.กวางตุ้ง 2.ตำลึง 4.มะเขือยาว 5.มะระจีน

1) สีเขียว (ต่อ) 6.แตงกวา 7.มะละกอ 8.กะหล่ำปลี 9.กะหล่ำดอกอิตาเลี่ยน 10.คะน้า

2) สีเหลือง ได้แก่……………………………. 3.ขนุนอ่อน 2.ข้าวโพดฝักอ่อน 1.ฟักทอง 4.มันฝรั่ง 5.มันเทศ

2) สีเหลือง (ต่อ) 8.สับปะรด 6.กะหล่ำดอก 7.ดอกโสน 9.ดอกขจร 10.ขมิ้นชัน 11.กระชาย

2) สีเหลือง (ต่อ) มะเขือเหลือง พริกเหลือง 2) สีเหลือง (ต่อ) มะเขือเหลือง พริกเหลือง 12.มะอึก 13.พริกยักษ์

3) สีส้ม–แดง ได้แก่…………………………………. 2.บีทรูท 3.พริกชี้ฟ้า 1.มะเขือเทศ 5.แครอท 6.ดอกกระเจียว 4.แรดิช

3) สีส้ม–แดง (ต่อ) 7.หอมแดง 8.พริกยักษ์ พ เ ด เ

1. สีเขียว สีของพืชผัก 2. สีเหลือง 3. สีส้ม-แดง

เรื่องผัก 5 สี

พืชผักมี 5 สีดังนี้ 1. สีเขียว ได้แก่ คะน้า ผักบุ้ง กวางตุ้ง โหระพา กะเพรา แมงลัก สะระแหน่ 2. สีเหลือง-ส้ม ได้แก่ ฟักทอง แครอท ข้าวโพดฝักอ่อน 3. สีแดง ได้แก่ มะเขือเทศ พริก แตงโม บีทรูท 4. สีม่วง ได้แก่ กะหล่ำปลี อัญชัน มะเขือ 5. สีขาว ได้แก่ มะเขือขาว ผักกาดขาว ดอกแค ผักกาดหัว

เรื่องประโยชน์ของผัก 5 สี

1. สีเขียว เกิดจากเม็ดสีที่เรียกว่า คลอโรฟิลล์(Chlorophyll) ช่วยกระตุ้นการทำงานของตับให้สร้างเอนไซม์ออกมาใช้ในการต้านมะเร็ง ป้องกันไม่ให้ DNA ถูกทำลายลุกลามจนกลายเป็นเนื้อร้าย

2. สีเหลือง-ส้ม เกิดจากเม็ดสีในกลุ่มของ เบตาแคโรทีน (Batacarotene) มีคุณสมบัติช่วยรักษาสุขภาพของหัวใจและหลอดเลือด ช่วยบำรุงสายตา ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคต้อกระจก โรคมะเร็ง และช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานได้ดี 2. สีเหลือง-ส้ม

3. สีแดง เกิดจากเม็ดสีในกลุ่มของ ไลโคพีน ( lycopene ) จะช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด โรคกระเพาะอาหาร มะเร็งตับอ่อน คอหอย เต้านม ป้องกันการเสื่อมของเซลล์ในร่างกาย

4. สีม่วง มาจากเม็ดสีที่เรียกว่า แอนโทไซยานิน (anthocyanins) ชะลอการเกิดไขมันอุดตันในหลอดเลือดและโรคหลอดเลือดหัวใจแข็งตัว ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคเส้นเลือดอุดตันในสมอง ชะลอความเสี่ยง ของดวงตา

5. สีขาว มาจากเม็ดสีที่เรียกว่า ฟลาโวนอยด์ (flavonoid) ช่วยลดคลอเรสเตอรอล ความดันโลหิต ช่วยลดความเสี่ยงของมะเร็งกระเพาะอาหาร และโรคหัวใจ ลดการต้านยา ในเซลล์มะเร็ง ลดอาการปวดข้อเข่า

1. สีเขียว 2. สีเหลือง-ส้ม สีของพืชผัก 3. สีแดง 4. สีม่วง 5. สีขาว

ผักอะไรเอ่ย ? ผักหนึ่งอยู่หนอง ผักสองอยู่วัด ผักสามอยู่ป่าช้า ผักสี่อยู่นา ? 1. ผักเป็ด 2. ผักกระถิน 3. ผักเสี้ยนผี 4. ผักคราด

การปลูกพืชไร้ดิน (Hydroponic)

EatHouse บ้านกินได้..สวนแนวตั้งที่สร้างจากลังพลาสติก

สามารถจำแนกได้ 2 กลิ่นดังนี้ 1.2.2 กลิ่นของพืชผัก สามารถจำแนกได้ 2 กลิ่นดังนี้

1) กลิ่นหอม ได้แก่…………………………………………………………. 1.2.2 กลิ่นของพืชผัก(ต่อ) 1) กลิ่นหอม ได้แก่…………………………………………………………. 1.หอมแดง 2.กะเพรา 3.ผักชีไทย 5.ขิง 4.สะระแหน่

1) กลิ่นหอม (ต่อ) 6.โหระพา 7.ขึ้นฉ่าย 8.ตะไคร้ 9.มะนาว 10.มะกรูด

2) กลิ่นฉุน ได้แก่ ………………………………………….. 1.กระเทียม 2.ผักกาดหัว 3.พริก 4.พริกไทยอ่อน

1. กลิ่นหอม กลิ่นของพืชผัก 2. กลิ่นฉุน

1) สีเขียว เป็นผักส่วนใหญ่ 1.2.1 สีของพืชผัก จำแนกได้ 3 สี (The basic tri colour) 1) สีเขียว เป็นผักส่วนใหญ่ 2) สีเหลือง ได้แก่ ฟักทอง ข้าวโพดฝักอ่อน ขนุนอ่อน กระชาย มันเทศ มันฝรั่ง กะหล่ำดอก โสน สับปะรด ดอกขจร 3) สีส้ม–แดง ได้แก่ มะเขือเทศ บีทรูท พริก แรดิช แครอท 1.2.2 กลิ่นของพืชผัก จำแนกได้ 2 กลิ่นดังนี้ 1) กลิ่นหอม ได้แก่ หอม กะเพรา โหระพา ผักชี สะระแหน่ ขิง ขึ้นฉ่าย ตะไคร้ มะนาว มะกรูด 2) กลิ่นฉุน ได้แก่ กระเทียม ผักกาดหัว พริก พริกไทยอ่อน

1.2.3 รสของพืชผัก จำแนกได้ 8 รสดังนี้ 1) รสหวาน ได้แก่ ข้าวโพดฝักอ่อน ยอดมะพร้าว ผักกาดหัว เห็ด 2) รสจืด ได้แก่ ผักบุ้ง ผักหนาม ผักแว่น ตำลึง แพงพวยน้ำ 3) รสเปรี้ยว ได้แก่ มะนาว มะเขือเทศ สับปะรด ผักเสี้ยน 4) รสฝาด ได้แก่ ขนุนอ่อน ผักบุ้งไทย มะตูมอ่อน กล้วยดิบ 5) รสขม ได้แก่ ขี้เหล็ก มะระ สะเดา ยอ ผักโขม 6) รสเผ็ดร้อน ได้แก่ พริก ขิง ข่า ตะไคร้ พริกไทยอ่อน 7) รสหอมเย็น ได้แก่ บวบ ตำลึง ฟักทอง ฟักเขียว สายบัว 8) รสมัน ได้แก่ กะหล่ำดอก ถั่วงอก สะตอ ชะอม บัวบก

1.2.3 รสของพืชผัก จำแนกได้…รสดังนี้

1) รสหวาน ได้แก่…………………………………………. 2.ยอดมะพร้าว 1.ข้าวโพดฝักอ่อน 4. เห็ดฟาง 3.ผักกาดหัว

2) รสจืด ได้แก่……………………………………………………. 1.ผักบุ้งจีน 2.ผักหนาม 3.ตำลึง 5.ผักแว่น 4.แพงพวยน้ำ

3) รสเปรี้ยว ได้แก่………………………………………………… 2.มะเขือเทศ 1.มะนาว 3.สับปะรด 4.ผักเสี้ยนไทย 5.มะขามอ่อน

3) รสเปรี้ยว (ต่อ) ตะลิงปลิง มะดัน ส ผั ม

4) รสฝาด ได้แก่…………………………………………………… 1.ขนุนอ่อน 2.ผักบุ้งไทย 3.มะตูมอ่อน 4.กล้วยดิบ 5.หัวปลี

5) รสขม ได้แก่……………………………………………………… 1.ขี้เหล็ก 2.มะระจีน 3.สะเดา 5.ผักโขม 4.ยอ

6) รสเผ็ดร้อน ได้แก่……………………………………………… 3.ข่า 1.พริกชี้ฟ้า 2.ขิง 4.ตะไคร้ 5.พริกไทยอ่อน

7) รสหอมเย็น ได้แก่……………………………………………… 1.ฟักทอง 2.ตำลึง 3.ฟักเขียว 4.สายบัว 5.น้ำเต้า

ปุจฉา ช้างตกมัน ควรให้ช้างกินผักชนิดใด วิสัชนา………………. ฟักเขียว เพราะ………. มีฤทธิ์เป็นหยิน รสเย็น

8) รสมัน ได้แก่………………………………………………….. 3.สะตอ 2.ถั่วงอก 1.กะหล่ำดอก 5.บัวบก 4.ชะอม

ปุจฉา ม้ากินใบตองด้วยเหตุผลใด วิสัชนา …………….. เพื่อให้ม้าขนมัน เพราะ…………. ใบตองมีผิวมัน เนื่องจากมี WAX

5. ขม 1. หวาน 2. จืด 6.เผ็ดร้อน รสของพืชผัก 7.หอมเย็น 3. เปรี้ยว 8.มัน 4. ฝาด

มะพร้าวน้ำหอมปลูกกี่ปีจึงจะให้ผล 2-3 ปี

1.3 พืชผักมีโครงสร้างที่เป็นทั้ง ส่วนอ่อนและส่วนแข็ง โดยช่วยชำระล้างลำไส้ทำให้ระบบขับถ่ายของร่างกายดำเนินไป ตามปกติในแต่ละวันนั้นควรบริโภคเส้นใยอาหาร 30–50% ของอาหารทั้งหมด

(ผักครึ่งหนึ่ง อย่างอื่นครึ่งหนึ่ง ทุกวันเพื่อสุขภาพแข็งแรง)

ตามที่ร่างกายต้องการ ถ้ารู้จักเลือกบริโภคก็สามารถดำรงชีวิต 1.4 พืชผักให้คุณค่าทาง โภชนาการสูงและครบถ้วน ตามที่ร่างกายต้องการ ถ้ารู้จักเลือกบริโภคก็สามารถดำรงชีวิต ได้อย่างปกติสุขเช่นเดียวกับผู้ที่รับประทานเนื้อสัตว์ (โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน แร่ธาตุ)

2. โปรตีน ประกอบด้วยธาตุอะไร ตอบ C H O N 1. คาร์โบไฮเดรต ประกอบด้วยธาตุอะไร ตอบ C H O 2. โปรตีน ประกอบด้วยธาตุอะไร ตอบ C H O N

ตารางที่ 1 โภชนาการของกะหล่ำปลี หนัก 100 กรัม พลังงาน 1.5 แคลอรี ไขมัน 0.1 กรัม คาร์โบไฮเดรต 1.8 กรัม เส้นใย 1.6 กรัม โปรตีน 1.6 กรัม แคลเซียม 5 มิลลิกรัม

ตารางที่ 1 โภชนาการของกะหล่ำปลี หนัก 100 กรัม (ต่อ) ฟอสฟอรัส 76 มิลลิกรัม เหล็ก 0.1 มิลลิกรัม ไนอะซิน 2.8 มิลลิกรัม วิตามินบี 1 0.04 มิลลิกรัม วิตามินบี 2 0.22 มิลลิกรัม วิตามินซี 33 มิลลิกรัม

สรุป ความสำคัญ ด้านคุณค่าทางอาหาร

1. เป็นอาหารประจำวันของมนุษย์ 2. มีสี กลิ่น และรส ทำให้น่าทาน ด้านคุณค่าทางอาหาร 3. ช่วยชำระล้างลำไส้และระบบ ขับถ่ายเป็นปกติ 4. ให้คุณค่าโภชนาการสูง-ครบถ้วน

แบบฝึกที่ 1.2 หน้า 6 เรื่องสี กลิ่น รสของพืชผักสวนครัว

แบบฝึกที่ 1.2 หน้า 6 เรื่องสี กลิ่น รสของพืชผักสวนครัว …………………………………………………………………………………… ผลการเรียนรู้ สรุปแผนที่ความคิด เรื่องสี กลิ่น รสของพืชผัก สวนครัวได้ คำสั่ง ให้สรุปแผนที่ความคิด เรื่องสี กลิ่น รสของพืชผัก สวนครัวให้ถูกต้อง

แบบฝึกที่ 1.3 หน้า 7 เรื่องความสำคัญของพืชผักด้านคุณค่าทางอาหาร …………………………………………………………………………………… ผลการเรียนรู้ สรุปแผนที่ความคิด เรื่องความสำคัญของพืชผัก ด้านคุณค่าทางอาหารได้ คำสั่ง ให้สรุปแผนที่ความคิด เรื่องความสำคัญของพืชผัก ด้านคุณค่าทางอาหารให้ถูกต้อง

2. ความสำคัญของพืชผัก ด้านเภสัชกรรม

พืชผักทำหน้าที่เป็นคลังโอสถนานาชนิดที่ใช้ป้องกัน และรักษาโรคตามวิธีการทางการแพทย์แผนโบราณที่สะสม ภูมิปัญญาชาวบ้านมาช้านาน แม้นแต่การแพทย์แผนปัจจุบัน ก็ให้ความสำคัญในด้านนี้เช่นเดียวกัน โดยจะขอยกตัวอย่าง ไว้เพียง 9 ชนิดดังนี้

ตัวอย่างพืชผัก ด้านเภสัชกรรม

1. กะหล่ำปลี ช่วยป้องกัน .............................................. มะเร็งในลำไส้ใหญ่

2. กระเทียม ช่วยรักษา………………………………… 1. แบคทีเรีย 2. เชื้อรา 3. ลดโคเรสเตอรอล

3. กะเพรา ช่วยป้องกัน ………………………………… 1. หวัด 2. ปวดหัว ปวดเอว

4. ขิง ช่วยป้องกัน……………………………………… 1. วิงเวียนศีรษะ

5. ข้าวโพดฝักอ่อน ช่วยป้องกัน ................................ 1. มะเร็ง 2. ต่อต้านไวรัส

6. ตะไคร้ ช่วยรักษา ………………………………….. 1. โรคลม

7. มะกรูด ช่วยรักษา ................................................. 1. เจ็บคอ 2. ท้องอืด

8. หอมแดง ช่วยแก้อาการ ………………………………. 1. คัดจมูก 2. ไข้หวัด

9. สะระแหน่ ช่วยอาการ…………………………………… 1. ขับลม 2. ปวดท้อง

สรุป ความสำคัญ ด้านเภสัชกรรม

1. กะเพรา รักษาหวัด 2. ขิง ป้องกันวิงเวียนศีรษะ ด้านเภสัชกรรม 3. ตะไคร้ รักษาโรคลม 4. หอมแดง รักษาคัดจมูก ไข้หวัด

ว่าด้วยเรื่องของสมุนไพร.......

1. ตะไคร้ 2. ตำลึง พืชผักสมุนไพร 3. ข่า 4. พริกไทยอ่อน

ส่วนที่ใช้ : ต้น ใบสด ราก น้ำมันของต้นตะไคร้หอม 1. ตะไคร้หอม ส่วนที่ใช้ :  ต้น ใบสด ราก น้ำมันของต้นตะไคร้หอม สรรพคุณทางยา : แก้โรคทางเดินปัสสาวะ ขับลมในลำไส้แก้อหิวาตกโรค บำรุงสมอง ลดความเครียด แก้ไข้หวัด

ส่วนที่ใช้ : ใบ เถา ราก ต้น ดอก เมล็ด 2. ตำลึง ส่วนที่ใช้ :  ใบ เถา ราก ต้น ดอก เมล็ด สรรพคุณทางยา : ลดไข้ แก้คัน แก้อาเจียน ถอนพิษไข้ แก้ตาแดง ตาช้ำ แก้งูสวัด แผลอักเสบ

ส่วนที่ใช้ : เหง้าอ่อนและแก่ ราก ลำต้น น้ำมันหอมระเหย 3. ข่า ส่วนที่ใช้ : เหง้าอ่อนและแก่ ราก ลำต้น น้ำมันหอมระเหย สรรพคุณทางยา : ขับลม แก้ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ กลากเกลื้อน ขับเลือด(เหมาะกับหญิงที่พึ่งคลอดบุตร)

ส่วนที่ใช้ : เมล็ด ใบ ดอก ราก พริกไทย ส่วนที่ใช้ : เมล็ด ใบ ดอก ราก สรรพคุณทางยา : ย่อยอาหาร ขับเสมหะ ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ แก้ปวดท้อง ช่วยย่อยอาหาร

แบบฝึกที่ 1.4 หน้า 9 เรื่องความสำคัญด้านเภสัชกรรม …………………………………………………………………………………… ผลการเรียนรู้ สรุปความสำคัญด้านเภสัชกรรมได้ คำสั่ง ให้สรุปความสำคัญด้านเภสัชกรรมให้ถูกต้อง

1. กะหล่าปลี ช่วยป้องกัน .......................................................... 2. กระเทียม ช่วยรักษา ............................................................. 3. กะเพรา ช่วยรักษาโรค ............................................................ 4. ขิง ช่วยป้องกันโรค................................................................... สมุนไพรนี้มีชื่อว่า.......................

5. ข้าวโพด ช่วยป้องกัน ......................................................... 6. ตะไคร้ ช่วยรักษาโรค ........................................................... 7. มะกรูด ช่วยรักษาการ ......................................................... 8. หอมแดง ช่วยแก้อาการ. ..................................................... 9. สะระแหน่ ช่วยขับ ............................................................ สมุนไพรนี้มีชื่อว่า.......................