คุณครูสิริศิระ โชคทวีกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

พิธีมอบโล่และเกียรติบัตรการประกวดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
กระบวนการของการอธิบาย
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
เนื้อเรื่อง สามัคคีเภทคำฉันท์.
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
สถานการณ์การเมืองของไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อำนาจอธิปไตย 1.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ศาสนาเชน Jainism.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
เพลง ปลุกใจ บ้านเรารู้ได้จักเพลงประเภทนี้ในรูปแบบสากลเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อ ครูฝึกทหารวังหน้าชาวอังกฤษ.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
นาย พิศณุ นิลกลัด.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
“ครอบครัว สุขสันต์ ช่วยกันเก็บออม”
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การเขียนรายงานการประชุม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณครูสิริศิระ โชคทวีกิจ กรณีการสวรรคตของรัชกาลที่ ๘ The Mysterious Death Case of King Rama VIII กลุ่ม 2MPN ห้อง ๑๐ - ๙ นางสาวกันติศา เจติยานุวัตร นางสาวณัฏฐนิช ตระกูลลาภพันธุ์ นางสาวภิญญดา ทุนคำ นางสาวทักษพร สิริจรรยาพงศ์ นำเสนอ คุณครูสิริศิระ โชคทวีกิจ

กรณีการสวรรคตของรัชกาลที่ ๘ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ. ศ กรณีการสวรรคตของรัชกาลที่ ๘ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ณ พระที่นั่งบรมพิมานชั้นบน ไม่มีข้อสรุปแน่ชัดว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร จนกระทั่งในปัจจุบันกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ ๘ ก็ยังเป็นเหตุการณ์ที่มีการถกเถียงกันอยู่ พระที่นั่งบรมพิมาน อยู่ทางด้านใต้ของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม อยู่เหนือสวนศิวาลัย บริเวณคลังสรรพาวุธเดิม

ลำดับเหตุการณ์ (เหตุเกิดในปีพ.ศ. ๒๔๘๙) ๒ มิถุนายน มีพระอาการประชวรเกี่ยวกับพระนาภี   ๗ มิถุนายน นายปรีดี พนมยงค์ได้รับเลือกจากรัฐสภาให้เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (ครั้งที่ ๒) และได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ประมาณชั่วโมงกว่าๆ ๘ มิถุนายน ร.๘ แต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์เป็นนายกรัฐมนตรี และพระอาการประชวรพระนาภีมากขึ้น

มีผู้อยู่ร่วมในที่เกิดเหตุทั้งหมด ๗ คน ได้แก่ ๑. สมเด็จพระราชชนนี ๒. สมเด็จพระอนุชา (ในหลวงองค์ปัจจุบัน) ๓. ชิต สิงหเสนี (มหาดเล็กรับใช้ประจำห้องบรรทมในหลวงอานันท์) ๔. บุศย์ ปัทมศริน (มหาดเล็กรับใช้ประจำห้องบรรทมในหลวงอานันท์) ๕. น.ส. เนื่อง จิตตดุลย์ (พระพี่เลี้ยงในหลวงอานันท์) ๖. น.ส. จรูญ ตาละภัฎ (ข้าหลวงสมเด็จพระราชชนนี) ๗. เฉลียว เทียมงามสัจ (มหาดเล็กรับใช้) วันที่ ๙ มิถุนายน ซึ่งเป็นวันที่เกิดเหตุ

พระราชชนนี พระอนุชา น.ส. เนื่อง จิตตดุลย์ นายชิต และนายบุศย์ น.ส. จรูญ ตาละภัฎ เฉลียว

เวลาตี ๕ กว่า พระบรมราชชนนีตื่นแล้วเสด็จเข้าไปปลุก ร เวลาตี ๕ กว่า พระบรมราชชนนีตื่นแล้วเสด็จเข้าไปปลุก ร.๘ เพื่อถวายน้ำมันละหุ่ง และร.๘ทรงบรรทมต่อ เวลา ๗ โมง มหาดเล็กชื่อนายบุศย์ มาเข้าเวรถวายงาน โดยนั่งอยู่หน้าห้องพร้อมกับมหาดเล็กชื่อนายชิต ในเวลาเดียวกันมหาดเล็กชื่อนายเฉลียว ยกอาหารเช้าขึ้นไปจัดวางที่มุขหน้า และเฉลียวอยู่เฝ้าอาหาร

เวลาประมาณ ๘ โมง นายบุศย์เห็นพระอนุชา เสด็จไปที่มุขหน้าเสวยอาหารเช้า แล้วเสด็จมาถามพระอาการของร.๘ เวลาประมาณ ๙ โมงครึ่ง มีเสียงปืนดังขึ้นภายในห้องบรรทมของร.๘ นายชิตวิ่งเข้าไปดู แล้ววิ่งไปตามพระบรมราชชนนี เมื่อมาถึง พบร.๘ ทรงนอนทอดพระวรกายบนที่นอนเหมือนทรงนอนหลับปกติพระกรทั้งสองวางอยู่ข้างพระองค์ (ไม่งอ) มุ้งถูกตลบขึ้นเหนือเตียง บนที่นอนบริเวณใกล้พระหัตถ์ซ้ายมีปืนสั้นวางอยู่ มีแผลกระสุนที่หน้าผาก เหนือคิ้ว บริเวณระหว่างคิ้ว ข้างพระศพบริเวณข้อพระกรซ้ายมีปืนพก US Army ขนาดกระสุน ๑๑ มม. วางอยู่ในลักษณะชิดข้อศอก ด้ามปืนหันออกจากตัว ปากกระบอกปืนชี้ไปที่ปลายเตียง

เวลาประมาณ ๑๐ โมง หลวงนิตย์เวชชวิศิษฐ์ได้มาถึงสถานที่เกิดเหตุและตรวจพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พบว่าสวรรคตแน่นอนแล้ว พระบรมราชชนนีจึงรับสั่งให้ทำความสะอาดและตกแต่งพระบรมศพ เพื่อเตรียมการถวายน้ำทรงพระบรมศพในช่วงเย็น ๑๐ มิถุนายน เจ้าหน้าที่และแพทย์จากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ได้เดินทางมาทำการฉีดยารักษาสภาพ คณะแพทย์ได้พบบาดแผลที่ท้ายทอย ซึ่งเป็นบาดแผลที่พบใหม่ไม่ตรงกับคำแถลงการณ์ที่ออกมาในตอนแรก ทำให้ประชาชนเกิดความสงสัยเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นนายปรีดี สั่งให้อัญเชิญพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่และเชิญคณะรัฐมนตรี มาประชุมเกี่ยวกับเรื่องการเสด็จสวรรคตของร.๘ ที่ประชุมสรุปว่าให้ออกแถลงการณ์แจ้งให้ประชาชนทราบว่า การเสด็จสวรรคตของร.๘ เป็น “อุบัติเหตุ”

ผู้ศึกษากรณีนี้ทุกคนยอมรับตรงกันว่า มีความเป็นไปได้ ๓ ทาง คือ “ลักษณะทางกายภาพของการยิง” (Physical conditions of the shooting) ก. ตำแหน่งของบาดแผลกระสุนเข้า อยู่ที่บริเวณหน้าผากเหนือคิ้วซ้ายเล็กน้อย ข. ลักษณะบาดแผลแสดงว่าปืนต้องกดติดหรือเกือบติดกับหน้าผากขณะกระสุนลั่น ถ้าไม่กดติดก็ห่างไม่เกิน ๒ นิ้ว ค. วิถีของกระสุน เฉียงลงล่าง และเอียงจากซ้ายไปขวาเล็กน้อย ทะลุออกด้านหลังที่ท้ายทอย ง. ลักษณะพระบรมศพ ที่พระกรอยู่ข้างพระวรกายเรียบร้อย (ปัญหาความเป็นไปได้ของอาการเกร็งค้างของแขนและมืออันเกิดจากสมองตายเฉียบพลันที่เรี​ยกว่า “คาดาเวอริค สปัสซั่ม” (Cadaveric Spasm) ผู้ศึกษากรณีนี้ทุกคนยอมรับตรงกันว่า มีความเป็นไปได้ ๓ ทาง คือ โดยผู้อื่น ๑. อุบัติเหตุ ๒. ทรงปลงพระชนม์ด้วยพระองค์เอง ๓. ถูกผู้อื่นปลงพระชนม์ โดยพระองค์เอง

สาเหตุการสวรรคตที่แพทย์ใช้เป็นกรอบในการลงความเห็น มีเพียง “3 สาเหตุ” สิ่งที่แพทย์วินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลการตัดสินใจลงความเห็น ที่สำคัญได้แก่ ลักษณะและตำแหน่งของบาดแพล, วิถีกระสุน และลักษณะพระบรมศพ นั่นคือ สิ่งที่ผมเรียกรวมๆในตอนต้นว่า “ลักษณะทางกายภาพของการยิง” ในจำนวนผู้ออกความเห็นทั้งหมด ๑๘ คน (แพทย์ไทย ๑๖ คน, แพทย์อเมริกัน และ พตท.เอ็จ) เสียง่ข้างมากแบบเด็ดขาดถึง ๑๒ คน ยืนยันว่าเป็นการ “ถูกปลงพระชนม์” อีก ๔ คนเห็นว่า “ปลงพระชนม์เองหรือถูกปลงพระชนม์ ทั้งสองประการเท่าๆกัน” (สามารถเรียงลำดับความเป็นไปได้ว่า “ถูกปลงพระชนม์, ปลงพระชนม์เอง หรือ อุบัติเหตุ”)

ผลกระทบจากเหตุการณ์ - จำเลยทั้งสาม คือ นายชิต นายบุศย์ และ นายเฉลียว ถูกตัดสินให้ประหารชีวิต - คดีนี้เป็นข้ออ้างสำคัญที่พรรคประชาธิปัตย์ (จอมพล ป. พิบูลสงคราม) ร่วมกับคณะทหารทำการรัฐประหาร วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ เพื่อโจมตีนายปรีดี ทำให้นายปรีดีต้องลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ - ประชาชนหมดความเชื่อมั่นในรัฐบาล

“ปริศนา” หรือความลึกลับที่แท้จริง ของกรณีสวรรคตไม่ใช่อยู่ที่ว่า เป็นเรื่องอธิบายไม่ได้ แต่อยู่ทีว่า ทำไมคำอธิบายที่ง่ายและโต้แย้งไม่ได้นี้(หมายถึงการตายโดยถูกผู้อื่นลอบปลงพระชนม์) จึงไม่ได้รับการนำเสนอออกมาตั้งแต่ต้น หรือตั้งแต่หลายสิบปีก่อน ทำไมตั้งแต่ตอนที่เกิดเรื่องแรกๆจึงต้องมีการปิดบังความจริงบางส่วนไว้ ดังจะเห็นได้ว่าหนังสือพิมพ์ทุกฉบับได้ตีพิมพ์ข่าวนี้แต่เหตุใดจึงต้องพยายามบิดเบือนความจริง

อ้างอิง http://forum.banrasdr.com/showthread.php?tid=9576 http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_8