ระบบน้ำเหลืองและเต้านม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี
Advertisements

ตรวจเต้านม ด้วยตนเอง วิชาการกายภาพบำบัด
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การเจริญเติบโตของมนุษย์
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
พฤติกรรม 10 อันดับการทำร้ายกระดูก
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
การปฏิบัติตนในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดACL Reconstruction
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
Fracture tibia and fibula
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การจัดระบบในร่างกาย.
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic system)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
“ หมวกอุ่นเกล้า ผ้าห่มอุ่นกาย”
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
Cancer.
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
กำมือ เคาะเบาๆ ที่สันหลัง จากบนลงล่าง 6 เที่ยว
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กำมือ ข้อนิ้วชี้คลึงหนักๆ ที่ด้านข้างกึ่งกลางศีรษะ 5 วินาที 5 ครั้ง
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
การนวดไทยแบบราชสำนัก
นิ้วหัวแม่มือกดกลางฝ่ามือ กด นับ 3 ; คลาย นับ 3 ; 5 ครั้ง
การตรวจ มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง.
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
หลักการเลือกซื้ออาหาร
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
เพิ่มความยืดหยุ่นข้อต้นขา
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
คลายกล้ามเนื้อแนวสันหลัง
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบน้ำเหลืองและเต้านม ณัฐกฤตา วงค์ตระกูล กลุ่มวิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน

ระบบน้ำเหลือง (lymphatic system) จัดเป็นส่วนหนึ่งของระบบหมุนเวียน (circulatory system) ในร่างกาย ประกอบด้วยท่อที่เชื่อมโยงกันเรียกว่า ท่อน้ำเหลือง (lymphatic vessels) ภายในบรรจุของเหลวใสที่เรียกว่า น้ำเหลือง (lymph) โดยระบบน้ำเหลืองนั้นไม่เป็นระบบปิด มีหน้าที่หลักคือนำของเหลวที่ซึมออกมาจากหลอดเลือดฝอยกลับเข้าสู่หลอดเลือดดำของระบบไหลเวียน หน้าที่ของระบบน้ำเหลือง 1. นำของเหลวที่ซึมอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อเข้าสู่หลอดน้ำเหลือง 2. ดูดซึมและขนส่งกรดไขมันและไขมันอย่างเช่นน้ำเหลืองปนไขมัน (chyle) จากระบบย่อยอาหาร 3.ขนส่งเซลล์เม็ดเลือดขาวจากต่อมน้ำเหลืองเข้าสู่กระดูก 4.เป็นส่วนสำคัญในการต่อสู้กับเชื้อโรคและมะเร็ง

การประเมินระบบน้ำเหลือง ทำได้โดยการซักประวัติ การซักประวัติ ได้แก่ ระยะเวลาการคลำพบก้อน อาการร่วม การเจ็บป่วยในอดีต ภาวะบวมน้ำเหลืองเนื่องจากมีการอุดกั้น ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อค้นหาความผิดปกติของระบบน้ำเหลือง ได้แก่ การบวม การขยายใหญ่ กดเจ็บบริเวณต่อมน้ำเหลือง

การตรวจประเมิน การคลำ ผู้ตรวจยืนเผชิญหน้ากับผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยก้มศีรษะเล็กน้อยเอียงศีรษะไปด้านที่ต้องการตรวจเพื่อให้กล้ามเนื้อไม่เกร็ง ตรวจต่อมน้ำเหลืองกลุ่มต่างๆ บริเวณหน้าหู (Prearicular) หลังหู (Postaricular หรือ Mastoid) ท้ายทอย (Occipital) คอ (Anterior & Posterior Cervical Lymphnode) ใช้ปลายนิ้วมือคลำ โดยคลึงหมุนวนเบาๆ บริเวณใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibular) และใต้คาง (Submental) ปกติจะคลำไม่พบต่อมมีขนาด 1-25 ม.ม. เป็นเม็ดๆ กลมรี เคลื่อนที่ได้ กดไม่เจ็บ ภาวะปกติ ขนาดโตมากกว่า 50 ม.ม. แดง เจ็บ แข็ง ขรุขระ ไม่เคลื่อนที่

การตรวจเต้านม จะแบ่งเต้านมออกเป็น 4 ส่วน แต่ละส่วนเรียก quadrant โดยแบ่งตามเส้นแนวตั้งที่ลากตัดกับแนวนอนที่หัวนม และเรียก quadrant เป็น upper inner (1) upper outer (2) lower inner (3) lower outer (4)

การดู จัดให้ผู้รับบริการนั่ง เปลื้องเสื้อออกจนถึงเอว แขนปล่อยไว้ข้างลำตัว หรือให้เท้าเอว สังเกต ขนาดเต้านมทั้งสองข้าง ดูสีผิว เส้นเลือด และลักษณะการบวม ค้นหาสิ่งผิดปกติอื่น ๆ เช่น ก้อนนูน รอยบุ๋ม รอยแผล ผื่นต่าง ๆ และดูขนาดสี รูปร่างของหัวนมภาวะปกติ เต้านมทั้งสองข้างไม่ควรแตกต่างกันมาก สีผิวอ่อนกว่าผิวกาย ไม่มีก้อน ไม่พบหลอดเลือด หัวนมสีชมพู หรือน้ำตาลเข้ม ไม่มีสิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติไหลออกมา

ตรวจเต้านมด้วยตนเอง

การตรวจพิเศษ MRI

ส่งตรวจชิ้นเนื้อ

จบแล้วค่ะ