Ethic case conference พญ. กนกพร ศรีรัตนวงศ์ นพ. ยงยุทธ ชุ่มคำลือ อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.พญ.วัลลี สัตยาศัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประเด็นขอความร่วมมือจาก โรงพยาบาล โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง ภาระทางสุขภาพที่เกิด จากการทำงาน ฯ.
โครเมี่ยม (Cr).
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
“งานทะเบียนและข้อบังคับฯ ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา”
การดูแลระยะกลาง (Intermediate Care)
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
Facilitator: Pawin Puapornpong
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วาระการประชุมร่วมกับรพ.สต. (งานเภสัชกรรม)
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
CQI ตึกกุมารเวชกรรม.
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
Pre-operation for Implantation Catheter Wanonniwat Hospital
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการดูแล Very High Risk Pregnancy ตาม Udon model 7 Step
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Ethic case conference พญ. กนกพร ศรีรัตนวงศ์ นพ. ยงยุทธ ชุ่มคำลือ อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.พญ.วัลลี สัตยาศัย 25 กุมภาพันธ์ 2552

กรณีศึกษา กรณี มาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรม หมวด 4 ข้อ 15 ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 หมวด 4 ข้อ 15 “ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรักษามาตรฐาน ของการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ในระดับที่ดีที่สุดในสถานการณ์นั้นๆ ภายใต้ความสามารถและข้อจำกัดตามภาวะวิสัยและพฤติการณ์ที่มีอยู่”

กรณีศึกษาที่ 1 ID: ผู้ป่วยหญิงไทย โสด อายุ 16 ปี เข้ารับการตรวจรักษา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง

OPD card วันแรกที่มาตรวจ ประวัติ: 12 ชม. ปวดศีรษะ ไข้สูง คลื่นไส้ ไม่อาเจียน ไม่ไอ ไม่เจ็บคอ มีญาติป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก 4 คน (นอนโรงพยาบาล 2 คน) BT 39.1oC, PR 119 bpm, RR 20/min, BP 98/57 mmHg, BW 51.7 kg. Tourniquet test: negative (No record of physical examination) Hct.36 %,WBC 5,600/mm3, PMN 88%, L 9 %, Mo 3 %, Platelet 325,000 /mm3 Imp: URI Medication: Paracetamol (500) 2 tab oral stat, then 2 tab oral prn fever q 4-6 hrs Amoxycillin (500) 1 tab oral qid, pc Domperidone 1 tab oral ac

OPD card วันที่สอง ประวัติ: 1 วัน ไข้สูง ปวดศีรษะไม่ไอ น้ำมูกข้น อาเจียนมาก 4-5 ครั้ง มาตรวจเมื่อวานไข้ไม่ลด กินไม่ได้เลย (9 วันก่อนมีนกพิราบตกมาตาย 2 ตัว) ปฏิเสธประวัติแพ้ยา, โรคประจำตัวและสัมผัสสัตว์ปีก V/S : BT 39.5oC , PR 103 bpm, RR 20 /min, BP 113/66 mmHg GA : chill HEENT : not pale, no jaundice Lung : clear Abd : soft, no tender Ext: no edema Tourniquet test: negative

OPD card วันที่สอง (ต่อ) Diagnosis: Flu Management: Admit IV fluid (5%DNSS rate 100 cc/hr) Soft diet Record vital signs q 4 hr Medication Paracetamol (500) 2 tab oral prn fever Actifed 1 tab oral tid pc Vitamin C 2 tab oral tid pc Repeat CBC

Progression ณ โรงพยาบาลชุมชน ช่วงที่เข้ารับการักษาโรงพยาบาลวันที่ 1-4 มีไข้สูงตลอด กินไม่ได้ อาเจียนมาก เลือดออกตามไรฟัน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม BT 38-40oC, RR 20-24/min, PR 90-110 bmp, BP 90/60-110-70 mmHg PE: normal consciousness, bleeding per gum, lung-clear, abd-soft, no tender, liver and spleen can not be palpate, pulse full Hct 36 %,WBC 2,400/mm3, PMN 60%, L 30 %, Platelet 100,000 /mm3 Diagnosis: Dengue fever Management: IV fluid (5%DNSS rate 100-120 cc/hr), observe vital signs, serial hematocrit, symptomatic medication (paracetamol, vitamin C), Bleeding precaution

สรุป Progression ณ โรงพยาบาลชุมชน Day 5: ไข้สูง เลือดออกตามไรฟัน บ่นจุกแน่นท้อง เหนื่อยเล็กน้อย BT 38.1oC, RR 24/min, PR 126 bmp, BP 103/66 mmHg PE: normal consciousness, bleeding per gum, lung: clear, Abd: soft, liver and spleen can not be palpate, ascites Hct 51 %,WBC 4,300/mm3, PMN 56%, L 33 %, Platelet 50,000 /mm3 , Atypical Lymphocyte 6% Management: Hemoconcentration: 0.9%NSS 200 cc IV in 1 hr and 300 cc IV in 1 hr Adjusted 5%DNSS to rate 150-180 cc/hr Observe vital signs Serial hematocrit

สรุป Progression ณ โรงพยาบาลชุมชน ต่อมาผู้ป่วยหายใจเหนื่อยมากขึ้น ท้องอืด มือเท้าบวม BT 36oC, RR 36/min, PR 142 bmp, BP 117/72 mmHg PE: normal consciousness, bleeding per gum, lung: clear, Abd: soft, liver and spleen can not be palpate, ascites Hct 51 % to 54% after adjusted rate 5%DNSS to 180 cc/hr เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการหายเหนื่อยมากขึ้น จึงส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลแห่งที่สองเพื่อรับการรักษาต่อ โดยวินิจฉัยโรคเป็น DHF

Progression โรงพยาบาลแห่งที่ 2 ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี กระสับกระส่าย ปวดท้อง V/S: BT 36.2oC, PR 52 bpm, RR 22 /min, BP 108/48 mmHg, SpO2 98 % PE: Bleeding per gum, decreased breath sound right lung, ascites positive, mild tender at periumbilical area Dx: DHF Mx: Oxygen therapy, Dextran 500 cc IV, Vit K1 IV, record vital signs q 15 min

Progression โรงพยาบาลแห่งที่ 2 ที่หอผู้ป่วยใน รู้สึกตัว ถามตอบรู้เรื่อง หายใจเหนื่อย มีอาการปวดท้อง กระสับกระส่าย BP 120/60 mmHg, P 136 pbm, RR 26/min, SpO2 98%, Bleeding per gum ช่วงรอเตียง ICU ญาติไม่สมัครใจรักษาต่อ ขอไปรับการรักษาต่อโรงพยาบาลเอกชน โดยเข้ารักษาที่โรงพยาบาลแห่งที่ 2 ตั้งแต่ 02.00-06.00 น.

Progression โรงพยาบาลเอกชน Day 6: รู้สึกตัว เหนื่อย เลือดซึมไรฟัน Progress respiratory failure -> ET intubation with ventilator Dx : DSS with ARDS with Liver failure Day 7: Desaturation, BP drop, HR 170 -> 68, Pulseless >>> CPR with adrenaline EKG monitoring: VT ->VF; Rx Defibrillation CPR 1 hour, pupil fixed 5 mm. both eyes –> stop CPR (Death) Advise prognosis

ประเด็นร้องเรียน มารดามีความเห็นว่า แพทย์โรงพยาบาลชุมชนแห่งแรก ให้การรักษาล่าช้าจนเป็นเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต จึงส่งเรื่องร้องเรียนแก่แพทยสภา “กรณี มาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรม”

คำให้การมารดา ในเหตุการณ์ครั้งนั้น ทั้งลูกและหลานเป็นไข้เลือดออกทั้งหมด 4 คน ในบุตรคนนี้ ครั้งแรกแพทย์บอกว่าเป็นไข้หวัดใหญ่ วันรุ่งขึ้นจึงได้ตรวจพบไข้เลือดออก ทุกครั้งที่แพทย์ตรวจแพทย์จะบอกว่าไม่เป็นไร เช้าวันที่ สาม ผู้ป่วยมีเลือดออกตามไรฟัน ผู้ป่วยมีอาการอาเจียน ท้องผูก รับประทานอาหารไม่ค่อยได้ ผู้ป่วยอาเจียนออกมาเป็นเลือด ปัสสาวะเข้มและปัสสาวะน้อยลง ในวันที่สี่ ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอกจึงได้ขอย้ายตัวผู้ป่วยไปรพ. เอกชน แต่แพทย์ไม่ค่อยพอใจ ถามว่าทำไมต้องย้าย

คำให้การมารดา ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลแห่งที่หนึ่ง เมื่อวันที่หก แพทย์ไม่ได้อธิบายถึงข้อมูลในอาการของผู้ป่วยและในระหว่างการรักษา ก่อนย้ายโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการจุกแน่น ปัสสาวะข้นออกสีแดงๆ บุตรที่รักษาที่โรงพยาบาลแห่งที่หนึ่งทั้ง 4 คนนั้นใช้บัตรทองทั้ง 4 คน ข้าพเจ้าได้เข้าพบผอ.รพ. แห่งที่หนึ่ง ผอ. บอกว่าเป็นธรรมดาของคน ที่มีน้ำหนัก 50 กก. ที่ต้องให้น้ำเกลือ 5 กระปุกต่อวัน ผู้อำนวยการพูดวันที่ไปขอเวชระเบียนว่าน้ำเกลือ 5 กระปุกพูดผิด บอกใหม่ว่า 3 กระปุกต่อวัน ขอเวชระเบียนก็ช้า ไม่ค่อยให้ความร่วมมือ เสียความรู้สึกมาก

คำให้การมารดา ในวันที่เข้ารับการรักษาที่รพ. แห่งที่ 2 บิดาผู้ป่วยได้รับการแจ้งว่าผู้ป่วยมีอาการไตวาย น้ำท่วมปอด แต่ข้าพเจ้าขอย้ายโรงพยาบาลเอง หาโรงพยาบาลเองเพราะรอให้ลูกตายต่อหน้าไม่ได้ เพราะหมอที่โรงพยาบาลแห่งที่ 2 ให้รอห้อง ICU ตอนสายของวันที่หกบอก ICU เตียงเต็มหมดแต่เค้าไม่คิดที่จะหาโรงพยาบาลอื่นรับรอง พยาบาลพูดกันเองว่าส่งช้าเกินไป แต่เค้าไม่เห็นแม่ยืนอยู่ด้านหลัง ข้าพเจ้าพอเข้าใจว่าที่เค้าไม่ช่วยหาโรงพยาบาล ถ่วงเวลาตั้งแต่ตี 2 ถึง 6 โมงเช้าถึงได้โรงพยาบาลเอกชน (หลังติดต่อสามแห่ง)

คำให้การมารดา เวลานั้นข้าพเจ้าเหลือเงินในกระเป๋า 1,000 บาท โรงพยาบาลเอกชนบอก ICU คืนละ 25,000 บาท ข้าพเจ้ายอมกู้เงินนอกระบบเพื่อให้ลูกรอดแม้ว่าจะไม่มีหวัง (ไม่โทษรพ.แห่งที่สอง) รพ.เอกชนทำดีที่สุดแล้ว แต่โรงพยาบาลแห่งที่หนึ่งเสียความรู้สึกมาก ไม่ให้ความร่วมมือ ไม่ให้ข้อมูลทั้งที่ถามและบอกทุกอย่าง แต่ไม่ใส่ใจที่จะกระตือรือร้นทำ เสียความรู้สึก ข้าพเจ้าได้รับเงินช่วยเหลือจากสปสช. 120,000 บาท เสียค่าใช้จ่ายที่รพ. เอกชน เกือบหนึ่งแสนบาท ข้าพเจ้าได้ขอเงินเพิ่มจากสปสช. อีก 80,000 บาท เพื่อรักษาสิทธิที่จะต้องได้รับเงินชดเชยค่าเสียหายจำนวน 200,000 บาท แต่ก็ไม่ได้รับเงินดังกล่าว

ประเด็นที่น่าสนใจ 1. เรื่องการสื่อสาร: การมีทักษะการสื่อสารที่ดี การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติอย่างเหมาะสมและต่อเนื่องสามารถช่วยลดปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างผู้ป่วยและทีมแพทย์ผู้ดูแลได้ 2. การบันทึกเวชระเบียนให้มีข้อมูลที่สำคัญอย่างครบถ้วน เป็นประโยชน์ทั้งกับตัวผู้ป่วยและแพทย์ในการทบทวนประวัติในอดีตและถือเป็นหลักฐานอ้างอิงทางการแพทย์ที่สำคัญ 3. การรักษามาตรฐานการประกอบวิชาชีพให้ได้ตามมาตรฐาน สามารถช่วยลดความเสี่ยง/ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้และเพื่อประโยชน์สูงสุดเกิดกับผู้ป่วยเอง

ประเด็นที่น่าสนใจ 4. การให้บริการทางการแพทย์ควรถือผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางและดูแลแบบองค์รวม แพทย์ควรให้การรักษาที่ดีที่สุดตามความสามารถและศักยภาพที่มีอยู่ ให้ความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจผู้ป่วยและญาติ ถ้ามีข้อบ่งชี้ควรส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษากับผู้เชี่ยวชาญตามความเหมาะสม 5. เรื่องสิทธิของผู้ป่วย: ผู้ป่วยและญาติควรมีส่วนร่วมตัดสินใจในการรักษา รวมถึงทางเลือกในการเข้ารับการบริการทางแพทย์ที่เหมาะสม

ขอบคุณครับ